ไม้โท

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
 style|รูปพยัญชนะ

| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | |–ั | |–ํ |–ิ |' |"- |–ุ |–ู | | | | |–็ |–่ |–้ |–๊ |–๋ |–์ |–๎ |–ฺ | | | | |

ไม้โท (◌้) เป็นวรรณยุกต์ตัวหนึ่งของไทย ใช้เติมเหนือพยัญชนะต้นของคำ และเหนือสระบนขึ้นไปอีกถ้ามี เพื่อให้เกิดการผันเสียงวรรณยุกต์ซึ่งขึ้นอยู่กับไตรยางศ์ และเปลี่ยนความหมายของคำให้เป็นอย่างอื่น

พ่อขุนรามคำแหงมหาราชทรงประดิษฐ์ไม้โทในภาษาไทย เพื่อให้เกิดความแตกต่างจากอักษรขอมและอักษรตระกูลภาษาอินเดียอื่น ๆ ที่ทรงยืมมาใช้ โดยเริ่มแรกไม้โทมีลักษณะเป็นรูปกากบาทเหมือนไม้จัตวา (◌๋) แต่ปัจจุบันมีลักษณะคล้ายเลขอารบิก (2) ที่หางชี้ขึ้นข้างบน