เจมส์ มอนโร

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เจมส์ มอนโร
ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา คนที่ 5
ดำรงตำแหน่ง
4 มีนาคม พ.ศ. 2360 – 4 มีนาคม พ.ศ. 2368
รองประธานาธิบดีแดนเนียล ดี ทอมคินส์
ก่อนหน้าเจมส์ แมดิสัน
ถัดไปจอห์น ควินซี อาดัมส์
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ คนที่ 7 แห่งสหรัฐอเมริกา
ดำรงตำแหน่ง
2 เมษายน พ.ศ. 2354 – 30 กันยายน พ.ศ. 2357
ดำรงตำแหน่ง
28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2358 – 4 มีนาคม พ.ศ. 2360
ประธานาธิบดีเจมส์ แมดิสัน
ก่อนหน้าโรเบิร์ต สมิธ
ถัดไปจอห์น ควินซี อาดัมส์
ผู้ว่าการรัฐเวอร์จิเนียคนที่ 12
ดำรงตำแหน่ง
19 ธันวาคม พ.ศ. 2342 – 1 ธันวาคม พ.ศ. 2345
ก่อนหน้าเจมส์ วู้ดส์
ถัดไปจอห์น เพจ
ผู้ว่าการรัฐเวอร์จิเนียคนที่ 16
ดำรงตำแหน่ง
16 มกราคม พ.ศ. 2354 – 5 เมษายน พ.ศ. 2354
ก่อนหน้าจอร์จ สมิธ
ถัดไปจอร์จ สมิธ
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด28 เมษายน พ.ศ. 2301
เมืองเวสต์มอร์แลนด์ เค้าตี้ รัฐเวอร์จิเนีย
 สหรัฐ
เสียชีวิต4 กรกฎาคม พ.ศ. 2374 (73 ปี)
เมืองนิวยอร์ก รัฐนิวยอร์ก
 สหรัฐ
ศาสนาคริสต์
พรรคการเมืองพรรคเดโมเครติก - ริพับลิกัน
คู่สมรสอลิซาเบธ คอร์ไทรต์ มอนโร
ลายมือชื่อ

เจมส์ มอนโร (อังกฤษ: James Monroe; 28 เมษายน 1758 – 4 กรกฎาคม 1831) เป็นรัฐบุรุษ ทนายความ นักการทูต และบิดาผู้ก่อตั้งสหรัฐ ซึ่งดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐคนที่ 5 ระหว่างปี 1817 ถึง 1825 โดยเป็นสมาชิกพรรคเดโมแครต–ริพับลิกัน เขาเป็นบิดาผู้ก่อตั้งคนสุดท้ายที่ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีและเป็นประธานาธิบดีคนสุดท้ายของราชวงศ์เวอร์จิเนีย

ประวัติ[แก้]

เจมส์ มอนโรเกิดเมื่อวันที่ 28 เมษายน 1758 ในบ้านพ่อแม่ของเขาในพื้นที่ป่าของเวสต์มอร์แลนด์เคาน์ตี รัฐเวอร์จิเนีย เป็นลูกชายคนโตของแอนดรูว์ สเปนซ์ มอนโรและเอลิซาเบธ โจนส์ สถานที่แห่งนี้อยู่ห่างจากชุมชนที่รู้จักกันในปัจจุบันในชื่อมอนโรฮอลล์ รัฐเวอร์จิเนีย 1 ไมล์ (1.6 กม.) สถานที่ตั้งบ้านของครอบครัวเจมส์ มอนโรได้ขึ้นทะเบียนสิ่งสำคัญทางประวัติศาสตร์แห่งชาติในปี 1979 เขามีน้องสาว 1 คนชื่อเอลิซาเบธ และน้องชาย 3 คนชื่อสเปนซ์ แอนดรูว์ และโจเซฟ โจนส์ แอนดรูว์ พ่อของมอนโรทำงานเป็นช่างฝีมือและเป็นผู้รักชาติซึ่งมีส่วนร่วมกับการประท้วงต่อต้านพระราชบัญญัติแสตมป์ ค.ศ. 1765 แม่ของเขาเป็นลูกสาวของผู้อพยพชาวเวลส์ซึ่งครอบครัวของเขาเป็น 1 ในตระกูลที่ร่ำรวยที่สุดในคิงจอร์จเคาน์ตี[1][2]

แพทริค แอนดรูว์ มอนโร ปู่ทวดของเขาอพยพไปอเมริกาในช่วงกลางศตวรรษที่ 17 ในฐานะผู้นิยมกษัตริย์หลังจากความพ่ายแพ้ของพระเจ้าชาลส์ที่ 1 ในสงครามกลางเมืองอังกฤษ[1] และเป็นส่วนหนึ่งของตระกูลสก็อตโบราณที่รู้จักกันในชื่อตระกูลมันโร

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 Unger 2009, pp. 9–12
  2. Ammon 1971, p. 577.

บรรณานุกรม[แก้]

แหล่งข้อมูลรอง[แก้]

  • Ammon, Harry (1971). James Monroe: The Quest for National Identity. McGraw-Hill. ISBN 9780070015821. 706 pp. standard scholarly biography
  • Ammon, Harry. "James Monroe" in Henry F. Graff ed., The Presidents: A Reference History (3rd ed. 2002) online
  • Cresson, William P. James Monroe (1946). 577 pp. good scholarly biography
  • Cunningham, Noble E. Jr. (1996). The Presidency of James Monroe.. 246 pp. standard scholarly survey
  • Dangerfield, George (1965). The Awakening of American Nationalism: 1815–1828. Harper and Rowe. ISBN 978-0-88133-823-2.
  • Greenstein, Fred I. (2009). "The Political Professionalism of James Monroe". Presidential Studies Quarterly. 39 (2): 275–282. doi:10.1111/j.1741-5705.2009.03675.x. JSTOR 41427360.
  • Hammond, John Craig (2019). "President, Planter, Politician: James Monroe, the Missouri Crisis, and the Politics of Slavery" (PDF). Journal of American History. 105 (3): 843–67. doi:10.1093/jahist/jaz002. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ November 25, 2020. สืบค้นเมื่อ July 29, 2020.
  • Hart, Gary (2005). James Monroe. Henry Holy and Co. ISBN 978-0-8050-6960-0. superficial, short, popular biography
  • Haworth, Peter Daniel. "James Madison and James Monroe Historiography: A Tale of Two Divergent Bodies of Scholarship." in A Companion to James Madison and James Monroe (2013): 521–539.
  • Howe, Daniel Walker (2007). What Hath God Wrought: The Transformation of America, 1815–1848. Oxford Univ. Press. ISBN 978-0-19-507894-7. Pulitzer Prize; a sweeping interpretation of the era
  • Holmes, David L. The Faiths of the Founding Fathers, May 2006, online version
  • Johnson, Allen (1915). Union and Democracy. Boston: Houghton Mifflin Company.
  • Leibiger, Stuart, ed. A Companion to James Madison and James Monroe (2012) excerpt; emphasis on historiography
  • May, Ernest R. The Making of the Monroe Doctrine (1975).
  • Perkins, Dexter. The Monroe Doctrine, 1823–1826 (1927).
  • Poston, Brook. James Monroe: A Republican Champion. Gainesville, FL: University Press of Florida, 2019.
  • Pulliam, David Loyd (1901). The Constitutional Conventions of Virginia from the foundation of the Commonwealth to the present time. John T. West, Richmond. ISBN 978-1-2879-2059-5.
  • Renehan Edward J., Jr. The Monroe Doctrine: The Cornerstone of American Foreign Policy (2007)
  • Scherr, Arthur. "James Monroe and John Adams: An Unlikely 'Friendship'". The Historian 67#3 (2005) pp 405+. online edition เก็บถาวร มิถุนายน 23, 2011 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  • Scherr, Arthur. "James Monroe on the Presidency and 'Foreign Influence: from the Virginia Ratifying Convention (1788) to Jefferson's Election (1801)." Mid-America 2002 84(1–3): 145–206. ISSN 0026-2927.
  • Scherr, Arthur. "Governor James Monroe and the Southampton Slave Resistance of 1799." Historian 1999 61(3): 557–578. ISSN 0018-2370 Fulltext online in SwetsWise and Ebsco.
  • Unger, Harlow G. (2009). The Last Founding Father: James Monroe and a Nation's Call to Greatness. Da Capo Press. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ March 6, 2016. สืบค้นเมื่อ March 7, 2015., scholarly biography.
  • Weeks, William Earl (1992). John Quincy Adams and American Global Empire. Lexington, KY: University of Kentucky Press. ISBN 978-0-8131-1779-9.
  • Wilentz, Sean (2004). "Jeffersonian Democracy and the Origins of Political Antislavery in the United States: The Missouri Crisis Revisited". The Journal of the Historical Society. 4 (3): 375–401. doi:10.1111/j.1529-921X.2004.00105.x.
  • Wood, Gordon S. Empire of Liberty: A history of the Early Republic, 1789–1815 (2009)

แหล่งข้อมูลหลัก[แก้]

  • Preston, Daniel, ed. The Papers of James Monroe: Selected Correspondence and Papers (6 vol, 2006 to 2017), the major scholarly edition; in progress, with coverage to 1814.
  • Writings of James Monroe, edited by Stanislaus Murray Hamilton, ed., 7 vols. (1898–1903) online edition at Internet Archive
ก่อนหน้า เจมส์ มอนโร ถัดไป
เจมส์ แมดิสัน
ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา คนที่ 5
(4 มีนาคม พ.ศ. 2360 - 3 มีนาคม พ.ศ. 2368)
จอห์น ควินซี แอดัมส์