จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
 style|รูปพยัญชนะ

| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | |–ั | |–ํ |–ิ |' |"- |–ุ |–ู | | | | |–็ |–่ |–้ |–๊ |–๋ |–์ |–๎ |–ฺ | | | | | (แหวน) เป็นพยัญชนะตัวที่ 37 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก (ลิง) และก่อนหน้า (ศาลา) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรต่ำ ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า “ว แหวน”

อักษร ว เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /w/ และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /w/

รูปสระ ตัววอ (ว) ยังสามารถใช้เป็นสระอัวลดรูป เมื่อมีพยัญชนะสะกด เช่น สวน และใช้ประสมสระอัวะ และ อัว

การประสมรูป[แก้]

การประสมรูป ปรากฏ ใช้เป็นสระ สัทอักษรสากล
(พยัญชนะต้น) + ตัววอ + (พยัญชนะสะกด) –ว– อัว (มีตัวสะกด) /ua/
(พยัญชนะต้น) + ไม้หันอากาศ + ตัววอ –ัว อัว (ไม่มีตัวสะกด) /ua/
(พยัญชนะต้น) + ไม้หันอากาศ + ตัววอ + วิสรรชนีย์ –ัวะ อัวะ /uaʔ/

วิธีเขียน[แก้]

เริ่มที่ลากเส้นเป็นวงกลม จากนั้นลากเส้นตรงขึ้นไปข้างบน และลากเส้นโค้งไปทางซ้าย