จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
 style|รูปพยัญชนะ

| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | |–ั | |–ํ |–ิ |' |"- |–ุ |–ู | | | | |–็ |–่ |–้ |–๊ |–๋ |–์ |–๎ |–ฺ | | | | | () เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 34 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก (ม้า) และก่อนหน้า (เรือ) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรต่ำ ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า “ย ยักษ์”

อักษร ย เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /j/ และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /j/

รูปสระ ตัวยอ (ย) ยังสามารถใช้ประสมรูปสระ เอียะ และ เอีย

การประสมรูป[แก้]

การประสมรูป ปรากฏ ใช้เป็นสระ สัทอักษรสากล
ไม้หน้า + (พยัญชนะต้น) + สระอี + ตัวยอ เ–ีย เอีย /ia/
ไม้หน้า + (พยัญชนะต้น) + สระอี + ตัวยอ + วิสรรชนีย์ เ–ียะ เอียะ /iaʔ/

วิธีเขียน[แก้]

เริ่มที่เขียนเป็นวงกลม จากนั้นลากเส้นลงล่าง แล้ววาด 1 ใน 4 ของวงกลม 2 ครั้ง ครั้งที่ 2 พลิกกลับด้าน จากนั้นลากเส้นลงล่างจนถึงเส้นบรรทัด แล้วลากเส้นไปทางขวา และสุดท้ายลากเส้นขึ้นไปข้างบน