จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
 style|รูปพยัญชนะ

| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | |–ั | |–ํ |–ิ |' |"- |–ุ |–ู | | | | |–็ |–่ |–้ |–๊ |–๋ |–์ |–๎ |–ฺ | | | | | (เณร) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 19 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก (ผู้เฒ่า) และก่อนหน้า (เด็ก) ออกเสียงอย่าง น (หนู) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรต่ำ ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า “ณ เณร”

ปัจจุบันมีคำที่ขึ้นต้นด้วย ณ อยู่น้อยคำ ได้แก่ ณ (ที่), ณรงค์ (ตัดมาจาก รณรงค์), เณร (ตัดมาจาก สามเณร), เณรหน้าไฟ, เณรหางนาค นอกเหนือจากนั้นใช้ประกอบกับคำที่มาจากภาษาบาลีหรือสันสกฤต

อักษร "ณ" ตรงกับตัวเทวนาครี "ण" เสียงในภาษาฮินดีต่างจากภาษาไทยกลางและภาษาไทยใต้แค่ภาษาฮินดีม้วนลิ้น [ɳ] แต่ไทยกลางและไทยใต้ไม่ม้วน [n]