เอสิกส์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เอสิกส์คอร์เปอเรชัน
ประเภทมหาชน
การซื้อขาย
เอ็นวายเอสอีUA
ISINJP3118000003 Edit this on Wikidata
ก่อตั้ง1949; 75 ปีที่แล้ว (1949)
สำนักงานใหญ่โกเบะ, จังหวัดเฮียวโงะ, ญี่ปุ่น
พื้นที่ให้บริการ
ทั่วโลก
บุคลากรหลัก
ฮิโยะมิ วะดะ
(กรรมการบริหาร)
โมะโตะริ โอะยะมะ
(ประธานบริษัท)
ผลิตภัณฑ์เสื้อผ้า, รองเท้ากีฬา,
อุปกรณ์กีฬา, อื่น ๆ
พนักงาน
5,937 (ค.ศ. 2013)
เว็บไซต์www.asics.com

เอสิกส์ (อังกฤษ: ASICS) ตราสินค้าผลิตภัณฑ์กีฬาและรองเท้ากีฬาสัญชาติญี่ปุ่น ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 กันยายน ค.ศ. 1949 โดย คิฮะชิโระ โอะนิซุกะ ที่เริ่มก่อตั้งบริษัทรองเท้ากีฬาของตนเอง คือ โอนิซุกะไทเกอร์ (Onitsuka Co., Ltd.) โดยการผลิตรองเท้าบาสเกตบอลจากห้องนั่งเล่นของตนเองในเมืองโกเบะ ประเทศญี่ปุ่น และในปี ค.ศ. 1977 ได้เลือกใช้ชื่อ ASICS เป็นชื่อสำหรับบริษัทของตน โดยคำ ๆ นี้มีที่มาจากวลีภาษาละติน คำว่า Anima Sana In Corpore Sano หรือตัวย่อว่า ASICS ซึ่งมีหมายความว่า "จิตใจที่แจ่มใสย่อมอยู่ในร่างกายที่สมบูรณ์" [1]

ต่อมาเอสิกส์มีการแนะนำผลิตภัณฑ์ไปยังสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ. 1977 และได้รับความนิยมไปทั่วโลกจนถึงปัจจุบัน

สำหรับในประเทศไทย มีร้านสำหรับจำหน่ายสินค้าของเอสิกส์โดยตรงที่ชั้น 3 ห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลเวิลด์ โดยเปิดไปเมื่อต้นปี ค.ศ. 2013[2], ที่ชั้น 2 ห้างสรรพสินค้าเมกาบางนา ที่เปิดไปเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 2015[3], ชั้น G ห้างสรรพสินค้าฟิวเจอร์พาร์ครังสิต และชั้น 1 ห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลพลาซาเวสต์เกต

สปอนเซอร์ว่าจ้าง[แก้]

ร้านจำหน่ายเอสิกส์ที่ออนแทรีโอ แคนาดา

ฟุตบอล[แก้]

ในช่วงทศวรรษที่ 90 เอสิกส์ให้การสนับสนุนสโมสรฟุตบอลในยุโรปหลายสโมสร

นักมวย[แก้]

วอลเลย์บอล[แก้]

เทนนิส[แก้]

นอวาก จอกอวิช ใส่รองเท้าเอสิกส์ในปี 2018

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Asics History". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-03-02. สืบค้นเมื่อ 2009-03-24.
  2. "คนดังร่วมเปิดตัว 'Asics Concept Store' ความสุขจากการออกกำลัง!". ไทยรัฐ. 23 January 2013. สืบค้นเมื่อ 31 July 2015.
  3. "ร้าน ASICS สาขา Mega Bangna เปิดแล้ว!!! พร้อมให้บริการนักวิ่งและลูกค้าทุกท่านครับ". ASICS. 4 August 2013. สืบค้นเมื่อ 5 August 2015.
  4. "เสื้อยืดฟุตบอล ASICS ทีมชาติญี่ปุ่นลายไผ่ ไซส์ M รอบอก 40 นึ้ว". jirasaksk.tarad.com/. สืบค้นเมื่อ 31 July 2015.[ลิงก์เสีย]
  5. "대표선수도 국제경기서 버젓이 서독 아디다스, 일본 미즈노등 외제 스포츠용품 국내시장 석권". Kyunghyang Sinmun. 1981-02-27.[ลิงก์เสีย](เกาหลี)
  6. "Napa Kiatwanchai vs Hiroki Ioka R11". ยูทิวบ์. 16 August 2011. สืบค้นเมื่อ 31 July 2015.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]