เศรษฐกิจกัมพูชา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เศรษฐกิจกัมพูชา
สกุลเงินเรียลกัมพูชา (KHR, ៛)
ปีงบประมาณCalendar year
ภาคีการค้าWTO, ASEAN, AFTA, G77, SCO
สถิติ
จีดีพี
  • เพิ่มขึ้น $26.730 billion (nominal, 2019 est.)[1]
  • เพิ่มขึ้น $76.934 billion (PPP, 2019 est.)[1]
จีดีพีเติบโต
  • 7.5% (2018) 7.1% (2019e)
  • 2.5% (2020B) 1.0% (2020LC)
  • 5.9% (2021B) 3.9% (2021LC)[2][note 1]
จีดีพีต่อหัว
  • เพิ่มขึ้น $1,621 (nominal, 2019 est.)[1]
  • เพิ่มขึ้น $4,664 (PPP, 2019 est.)[1]
ภาคจีดีพี
เงินเฟ้อ (CPI)2.5% (2020 est.)[1]
ประชากรยากจน
จีนี36.0 medium (2013)[6]
แรงงาน
  • เพิ่มขึ้น 9,230,114 (2019)[7]
  • เพิ่มขึ้น 81.1% employment rate (2016)[8]
ภาคแรงงาน
ว่างงาน
  • Negative increase 0.3% (2017 est.)[3]
  • high underemployment, according to official statistics
อุตสาหกรรมหลักtourism, garments, construction, rice milling, fishing, wood and wood products, rubber, cement, gem mining, textiles
อันดับความคล่องในการทำธุรกิจลดลง 144th (medium, 2020)[9]
การค้า
มูลค่าส่งออกเพิ่มขึ้น $11.42 billion (2017 est.)[3]
สินค้าส่งออกclothing, timber, rubber, rice, fish, tobacco, footwear
ประเทศส่งออกหลัก
มูลค่านำเข้าเพิ่มขึ้น $14.37 billion (2017 est.)[3]
สินค้านำเข้าpetroleum products, cigarettes, gold, construction materials, machinery, motor vehicles, pharmaceutical products
ประเทศนำเข้าหลัก
FDI
  • $29.17 billion (2014 est.)[3]
  • Abroad: N/A
หนี้ต่างประเทศNegative increase $11.87 billion (31 December 2017 est.)[3]
การคลังรัฐบาล
หนี้สาธารณะNegative increase 30.4% of GDP (2017 est.)[3]
รายรับ3.947 billion (2017 est.)[3]
รายจ่าย4.354 billion (2017 est.)[3]
ความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจ$934 million pledged in grants and concessional loans for 2011 by international donors
อันดับความเชื่อมั่น
ทุนสำรองเพิ่มขึ้น $12.2 billion (31 December 2017 est.)[3]
แหล่งข้อมูลหลัก: CIA World Fact Book
หน่วยทั้งหมด หากไม่ระบุ ถือว่าเป็นดอลลาร์สหรัฐ

เศรษฐกิจในกัมพูชามีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วในทศวรรษที่ผ่านมา แต่การเติบโตก็ยังต่ำเมื่อเทียบกับประเทศเพื่อนบ้าน กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่สำคัญภายในประเทศคือการเกษตร โรงงานอุตสาหกรรมมีความหลากหลายแต่เป็นโรงงานขนาดเล็ก ภาคบริการส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการค้าและความบันเทิง มีรายงานว่าพบน้ำมันและก๊าซธรรมชาติตามแนวชายฝั่ง

ในช่วง พ.ศ. 2538 รัฐบาลพยายามใช้นโยบายที่มีความมั่นคงกับหุ้นส่วน ทำให้เศรษฐกิจมหภาคมีประสิทธิภาพดี การเติบโตใน พ.ศ. 2538 คาดว่าเป็น 7% เพราะมีการปรับปรุงการผลิตทางการเกษตรโดยเฉพาะข้าว การเติบโตทางด้านการปลูกข้าวและการบริการยังคงต่อเนื่อง การนำเข้าเพิ่มขึ้นเพราะสามารถเข้าถึงแหล่งทุนภายนอกได้ การส่งออกเพิ่มขึ้น

หลังจากที่เศรษฐกิจมหภาคมีความเข้มแข็งประมาณ 4 ปี เศรษฐกิจของกัมพูชามีการเติบโตอย่างช้าๆในช่วง พ.ศ. 2540 – 2541 เพราะวิกฤติเศรษฐกิจในภูมิภาค การต่อสู้ทางการเมืองภายในประเทศ การลงทุนของต่างชาติและการท่องเที่ยวลดลง และเกิดภัยแล้งใน พ.ศ. 2541 ใน พ.ศ. 2542 ซึ่งเป็นปีที่มีสันติภาพอย่างสมบูรณ์ครั้งแรกในรอบ 30 ปี ทำให้การเติบโตทางเศรษฐกิจและการบริโภคเพิ่มขึ้น 4% ผลจากการทำสงครามยาวนานในประเทศ ทำให้ประชาชนส่วนใหญ่ขาดการศึกษา ทักษะในการทำงานรวมทั้งขาดโครงสร้างพื้นฐาน ความไม่มั่นคงทางการเมืองและการฉ้อราษฎร์บังหลวงภายในรัฐบาลทำให้การลงทุนลดลง และลดความช่วยเหลือจากต่างชาติลงด้วย

ความช่วยเหลือจากต่างชาติ[แก้]

การเกิดขึ้นของการปกครองระบอบประชาธิปไตยในกัมพูชาได้รับความช่วยเหลืออย่างมากจากต่างชาติ การจัดการเลือกตั้งโดยอันแทคใช้งบประมาณ 1.72 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ นอกจากนั้น ยังมีเงินช่วยเหลือจากการประชุมของ คณะกรรมการนานาชาติในการฟื้นฟูกัมพูชา ที่ปารีสใน พ.ศ. 2536 และการประชุมรัฐมนตรีเกี่ยวกับการฟื้นฟูกัมพูชาใน พ.ศ. 2535 รวมแล้วเงินที่ใช้ในการฟื้นฟูกัมพูชาหลังสงครามคิดเป็น 12.3ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ

การพัฒนาในปัจจุบัน[แก้]

GDP ใน พ.ศ. 2550 เติบโตประมาณ 18.6% การส่งออกเพิ่ม 8% และนักท่องเที่ยวเข้ามา 35% GDP ใน พ.ศ. 2550 นี้ถูกขับเคลื่อนด้วยการลงทุนและการบริโภค แต่ความเสี่ยงก็เพิ่มขึ้น การเติบโตทางด้านการบริการและการก่อสร้างเริ่มช้าลง การส่งออกไปสหรัฐลดลงตั้งแต่ พ.ศ. 2550 เพราะต้องแข่งขันกับเวียดนาม และเกิดความเสี่ยงจากการชะลอตัวทางเศรษฐกิจของสหรัฐและการส่งออกของจีน

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 "World Economic Outlook Database, October 2019". IMF.org. International Monetary Fund. สืบค้นเมื่อ 20 October 2019.
  2. "World Bank East Asia and Pacific Economic Update, April 2020 : East Asia and Pacific in the Time of COVID-19" (PDF). openknowledge.worldbank.org. World Bank. p. 20. สืบค้นเมื่อ 2 April 2020.
  3. 3.00 3.01 3.02 3.03 3.04 3.05 3.06 3.07 3.08 3.09 3.10 3.11 3.12 "The World Factbook". CIA.gov. Central Intelligence Agency. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-12-29. สืบค้นเมื่อ 10 February 2019.
  4. "Poverty headcount ratio at national poverty lines (% of population)". databank.worldbank.org. World Bank. สืบค้นเมื่อ 11 February 2019.
  5. "Poverty headcount ratio at $3.20 a day (2011 PPP) (% of population) - Cambodia". data.worldbank.org. World Bank. สืบค้นเมื่อ 1 February 2020.
  6. "Income Gini coefficient". hdr.undp.org. World Bank. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-05-16. สืบค้นเมื่อ 29 January 2020.
  7. "Labor force, total - Cambodia". data.worldbank.org. World Bank. สืบค้นเมื่อ 18 November 2019.
  8. "Employment to population ratio, 15+, total (%) (national estimate) - Cambodia". data.worldbank.org. World Bank. สืบค้นเมื่อ 18 November 2019.
  9. "Ease of Doing Business in Cambodia". Doingbusiness.org. สืบค้นเมื่อ 2017-01-23.
  10. "Sovereigns rating list". Standard & Poor's. สืบค้นเมื่อ 26 May 2011.


อ้างอิงผิดพลาด: มีป้ายระบุ <ref> สำหรับกลุ่มชื่อ "note" แต่ไม่พบป้ายระบุ <references group="note"/> ที่สอดคล้องกัน