เฉลิมไทยอวอร์ด ครั้งที่ 8

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

เฉลิมไทยอวอร์ด ครั้งที่ 8 เป็นกิจกรรมที่จัดโดยสมาชิกเว็บไซต์ พันทิปดอตคอม โต๊ะเฉลิมไทย เพื่อยกย่อง เชิดชู ผลงานดีเด่น ทางด้านภาพยนตร์ ตลอดปี พ.ศ. 2553 โดยผู้ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงและผู้ชนะในสาขาต่าง ๆ ได้มาจากการลงคะแนนเสียงของสมาชิกเว็บไซต์ pantip ผู้มีสิทธิ์ออกเสียง[1] ภายหลังมีการประกาศผลรางวัลขึ้นในวันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2554[2]

ผลรางวัลเฉลิมไทยอวอร์ด ครั้งที่ 8[2][แก้]

:: สาขาภาพยนตร์ต่างประเทศแห่งปี[แก้]

ผู้ชนะ

ผู้เข้าชิงอื่น ๆ

:: สาขาภาพยนตร์ไทยแห่งปี[แก้]

ผู้ชนะ

ผู้เข้าชิงอื่น ๆ

:: สาขางานกำกับภาพยนตร์แห่งปี (สำหรับภาพยนตร์ต่างประเทศ)[แก้]

ผู้ชนะ

ผู้เข้าชิงอื่น ๆ

:: สาขางานกำกับภาพยนตร์แห่งปี (สำหรับภาพยนตร์ไทย)[แก้]

ผู้ชนะ

ผู้เข้าชิงอื่น ๆ

:: สาขานักแสดงชายในบทนำจากภาพยนตร์ต่างประเทศแห่งปี[แก้]

ผู้ชนะ

ผู้เข้าชิงอื่น ๆ

:: สาขานักแสดงหญิงในบทนำจากภาพยนตร์ต่างประเทศแห่งปี[แก้]

ผู้ชนะ

ผู้เข้าชิงอื่น ๆ

:: สาขานักแสดงชายในบทนำจากภาพยนตรไทยแห่งปี[แก้]

ผู้ชนะ

ผู้เข้าชิงอื่น ๆ

:: สาขานักแสดงหญิงในบทนำจากภาพยนตรไทยแห่งปี[แก้]

ผู้ชนะ

ผู้เข้าชิงอื่น ๆ

:: สาขานักแสดงชายในบทสมทบจากภาพยนตร์ต่างประเทศแห่งปี[แก้]

ผู้ชนะ

ผู้เข้าชิงอื่นๆ

:: สาขานักแสดงชายในบทสมทบจากภาพยนตร์ไทยแห่งปี[แก้]

ผู้ชนะ

ผู้เข้าชิงอื่น ๆ

:: สาขานักแสดงหญิงในบทสมทบจากภาพยนตร์ต่างประเทศแห่งปี[แก้]

ผู้ชนะ

ผู้เข้าชิงอื่น ๆ

:: สาขานักแสดงหญิงในบทสมทบจากภาพยนตร์ไทยแห่งปี[แก้]

ผู้ชนะ

ผู้เข้าชิงอื่น ๆ

:: สาขาบทภาพยนตร์ต่างประเทศแห่งปี[แก้]

ผู้ชนะ

ผู้เข้าชิงอื่น ๆ

:: สาขาบทภาพยนตร์ไทยแห่งปี[แก้]

ผู้ชนะ

ผู้เข้าชิงอื่น ๆ

:: สาขาภาพยนตร์แอนิเมชันแห่งปี[แก้]

ผู้ชนะ

ผู้เข้าชิงอื่น ๆ

:: สาขาภาพยนตร์ฉายจำกัดโรงแห่งปี[แก้]

ผู้ชนะ

  • Aftershock

ผู้เข้าชิงอื่น ๆ

  • The American
  • Easy A
  • The Girl with the Dragon Tattoo
  • A Serious Man

:: สาขาภาพยนตร์นอกรอบแห่งปี[แก้]

ผู้ชนะ

ผู้เข้าชิงอื่น ๆ

  • Curling
  • The Girl on the Train
  • Our Beloved Month of August

:: สาขาการกำกับภาพในภาพยนตร์แห่งปี (กำกับภาพ/ถ่ายภาพ)[แก้]

ผู้ชนะ

ผู้เข้าชิงอื่น ๆ

:: การลำดับภาพในภาพยนตร์แห่งปี (ลำดับภาพ/ตัดต่อภาพ)[แก้]

ผู้ชนะ

ผู้เข้าชิงอื่น ๆ

:: สาขางานศิลป์ในภาพยนตร์แห่งปี (กำกับศิลป์/เครื่องแต่งกาย/แต่งหน้า)[แก้]

ผู้ชนะ

ออกแบบงานสร้างและกำกับศิลป์ โดย Robert Stromberg และ Karen O’Hara ออกแบบเครื่องแต่งกาย โดย Colleen Atwood แต่งหน้าและทำผม โดย Lindsay MacGowan และ Shane Mahan

ผู้เข้าชิงอื่น ๆ

ออกแบบงานสร้างและกำกับศิลป์ โดย Stuart Craig และ Stephenie McMillan ออกแบบเครื่องแต่งกาย โดย Jany Temime แต่งหน้าและทำผม โดย Amanda Knight, Nick Dudman, Mark Coulier และ Lisa Tomblin

  • The Imaginarium of Doctor Parmassus

ออกแบบงานสร้างและกำกับศิลป์ โดย David Warren, Anastasia Masaro และ Caroline Smith ออกแบบเครื่องแต่งกาย โดย Monique Prudhomme แต่งหน้าและทำผม โดย Sarah Monzani

ออกแบบงานสร้างและกำกับศิลป์ โดย Guy Hendrix Dyas, Larry Dias และ Douglas A. Mowat ออกแบบเครื่องแต่งกาย โดย Jeffrey Kurland แต่งหน้าและทำผม โดย Luisa Abel, Janice Alexander และ Terry Baliel

ออกแบบงานสร้างและกำกับศิลป์ โดย Dente Ferretti, Max Biscoe, Robert Guerra, Christina Ann Wilson และ Francesca Lo Shiavo ออกแบบเครื่องแต่งกาย โดย Sandy Powell แต่งหน้าและทำผม โดย Jerry Popolis และ Manlio Rocchetti

:: สาขางานเสียงในภาพยนตร์แห่งปี (บันทึกเสียง/ตัดต่อเสียง)[แก้]

ผู้ชนะ

  • Inception โดย Richard King, Lora Hirschberg, Gary Rizzo และ Ed Novick

ผู้เข้าชิงอื่น ๆ

  • The Hurt Locker โดย Paul N.J. Ottosson และ Ray Beckett
  • Shutter Island โดย Tom Fleischman, Philip Stockton, Eugene Gearty และ Petur Hliddal
  • Toy Story 3 โดย Tom Myers และ Michael Silvers
  • Tron Legacy โดย Gwendolyn Yates Whittle และ Addison Teague

:: สาขาดนตรีประกอบภาพยนตร์แห่งปี[แก้]

ผู้ชนะ

ผู้เข้าชิงอื่น ๆ

:: สาขาเพลงประกอบจากภาพยนตร์ต่างประเทศแห่งปี[แก้]

ผู้ชนะ

  • "We Belong Together" จาก Toy Story 3 (ประพันธ์ทำนองและแต่งคำร้องโดย Randy Newman)

ผู้เข้าชิงอื่น ๆ

  • "Almost There" จาก The Princess and the Frog (ประพันธ์ทำนองและแต่งคำร้องโดย Randy Newman)
  • "Club Can’t Handle Me" จาก Step Up 3D
  • "Kick-Ass (We Are Young)" จาก Kick-Ass (ประพันธ์ทำนองและแต่งคำร้องโดย Mika และ Jodi Marr)
  • "To The Sky" จาก Legend of the Guardians the Owls of Ga’ Hoole (ประพันธ์ทำนองและแต่งคำร้องโดย Adam Young)

:: สาขาเพลงประกอบจากภาพยนตร์ไทยแห่งปี[แก้]

ผู้ชนะ

  • "รักไม่ต้องการเวลา" จาก กวน มึน โฮ (ประพันธ์ทำนองโดย ดนัย ธงสินธุศักดิ์; แต่งคำร้องโดย เกี้ยวเกล้า พูนชัย; เรียบเรียงใหม่โดย วัฒนกร ศรีวัง)

ผู้เข้าชิงอื่น ๆ

  • "ใช่เธอจริง" จาก เราสองสามคน (ประพันธ์ทำนองโดย อานนท์ สายแสงจันทร์; แต่งคำร้องโดย รณวีย์ ศรีขาว)
  • "เธอ get ก็ OK" จาก สุดเขต...เสลดเป็ด (ประพันธ์ทำนองและแต่งคำร้องโดย สุรยศ คงมี, ยุทธนา ฟรานซิส และ ชยานนท์ เครือเอี่ยม)
  • "ยินดีที่ไม่รู้จัก" จาก กวน มึน โฮ (ประพันธ์ทำนองโดย ประทีป สิริอิสสระนันท์; แต่งคำร้องโดย ปิยวัฒน์ มีเครือ; เรียบเรียงโดย 25 Hours)
  • "สิ่งเล็ก ๆ ที่เรียกว่ารัก" จาก สิ่งเล็ก ๆ ที่เรียกว่า...รัก (ประพันธ์ทำนองและแต่งคำร้องโดย ธนกฤต พานิชวิทย์; เรียบเรียงโดย ชวิน จิตสมบูรณ์)

:: สาขาเทคนิคพิเศษทางภาพแห่งปี[แก้]

ผู้ชนะ

  • Inception โดย Chris Corbould, Andrew Lockley, Pete Bebb และ Paul J. Franklin

ผู้เข้าชิงอื่น ๆ

อ้างอิง[แก้]

  1. เฉลิมไทยอวอร์ด ครั้งที่ 8 www.pantip.com เรียกดูครั้งล่าสุดเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2554
  2. 2.0 2.1 ประกาศผลเฉลิมไทยอวอร์ดย้อนหลัง topicstock.pantip.com เรียกดูครั้งล่าสุดเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2554