อักษรเรอจัง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อักษรเรอจัง
ชนิดอักษรสระประกอบ
ภาษาพูดเรอจัง, มลายู
ช่วงยุค?-ปัจจุบัน
ระบบแม่
ระบบพี่น้องบาหลี
บาตัก
ไบบายิน
ชวา
ลนตารา
มากัสซาร์
ซุนดาเก่า
เรินจง
ช่วงยูนิโคดU+A930-U+A95F
ISO 15924Rjng
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทศาสตร์สัทอักษรสากล หากไม่มีการสนับสนุนเร็นเดอร์ที่เหมาะสม คุณอาจเห็นเครื่องหมายคำถาม กล่อง หรือสัญลักษณ์อื่นแทนอักขระยูนิโค้ด

อักษรเรอจัง (Rejang, บางครั้งอาจสะกดเป็น Redjang) พัฒนามาจากอักษรพราหมี โดยผ่านทางอักษรปัลลวะหรืออักษรกวิ นักภาษาศาสตร์บางคนเชื่อว่า มีความต่อเนื่องระหว่างอักษรเรอจัง ไฮโรกลิฟฟิกของอียิปต์ และอักษรตระกูลเซมิติก เช่น อักษรฮีบรู

พยัญชนะ[แก้]

รูปพยัญชนะเป็นไปตามจารึกข้างล่างนี้:[1][2]

อักษรเรอจังพร้อมคำทับศัพท์

อักษรพร้อมสัทอักษรสากล[แก้]

เครื่องหมายเสริมสัทอักษรของอักษรนี้เชื่อมด้วยฐานอักษร a (ꥆ) เพื่อแก้อักษรที่กำกวม เช่นในกรณีของ /i/, /u/, /əu̯/ และ /ɛa̯/ ยกเว้นvirama ซึ่งฐานของมันคือ ka (ꤰ)

อักษรเรอจังกับสัญกรณ์สัทอักษรสากล[3]
เรอจัง ꤿ
สัทอักษรสากล [k] [ɡ] [ŋ] [t] [d] [n] [p] [b] [m] [c] [ɟ] [ɲ] [s] [r] [l] [j]
เรอจัง ꥆꥇ ꥆꥈ ꥆꥉ ꥆꥊ ꥆꥋ ꥆꥌ ꥆꥍ ꥆꥎ ꥆꥏ
สัทอักษรสากล [w] [h] [m], [b] [ŋ], [g] [n], [d] [ɲ], [ɟ] [a], [ə] [i], [ɪ] [u], [ʊ] [ɛ], [e] [ai̯] [o], [ɔ] [au̯] [əu̯] [ɛa̯] [ŋ] ท้าย
เรอจัง ꥆꥐ ꥆꥑ ꥆꥒ ꤰ꥓
สัทอักษรสากล [n] ท้าย [r] ท้าย [ʔ] ท้าย (ไม่มีสระ)

ยูนิโคด[แก้]

อักษรเรอจังถูกเพิ่มเข้าไปในยูนิโคดเมื่อเดือนเมษายน ค.ศ. 2008 รุ่น 5.1. ผังยูนิโคดของเรอจังอยู่ที่ U+A930-U+A95F:

เรอจัง
Unicode.org chart (PDF)
  0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F
U+A93x ꤿ
U+A94x
U+A95x                      


มีการพัฒนาข้อเสนอเพื่อเพิ่มตัวเลขเรอจัง (angka bejagung)[4]

อ้างอิง[แก้]

  1. Crawfurd, John. (1820). History of the Indian Archipelago (vol. 2).
  2. Everson, Michael. (2006). Proposal for encoding the Rejang script in the BMP of the UCS.
  3. Omniglot. Rejang. Retrieved 23 March 2019.
  4. Pandey, Anshuman (2018-03-26). "Preliminary proposal to encode Rejang Numbers in Unicode" (PDF). Unicode Consortium. L2/L2018/18081. สืบค้นเมื่อ 2021-02-18.