อักษรกวิ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อักษรกวิ
'กวิ' ในแบบอักษรกวิมาตรฐานใหม่
ชนิดอักษรสระประกอบ
ภาษาพูดบาหลีเก่า, ชวาเก่า, ซุนดาเก่า, มลายูเก่า, สันสกฤต
ช่วงยุคป. คริสต์ศตวรรษที่ 8–16
ระบบแม่
ระบบลูกในอินโดนีเซีย:
อักษรบาหลี
อักษรบาตัก
อักษรชวา
อักษรลนตารา
อักษรซุนดา
อักษรเรินจง
อักษรเรอจัง
อักษรบูดา
ในฟิลิปปินส์:
กลุ่มอักษรไบบายิน
ระบบพี่น้องเขมร, จาม, มอญเก่า, ครันถะ, ทมิฬ
ช่วงยูนิโคดU+11F00–U+11F5F
ISO 15924Kawi
[a] ต้นกำเนิดเซมิติกของอักษรพามหียังไม่เป็นที่ยอมรับในระดับสากล.
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทศาสตร์สัทอักษรสากล หากไม่มีการสนับสนุนเร็นเดอร์ที่เหมาะสม คุณอาจเห็นเครื่องหมายคำถาม กล่อง หรือสัญลักษณ์อื่นแทนอักขระยูนิโค้ด

อักษรกวิ (กะ-วิ)[a] หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า อักษรชวาเก่า เป็นอักษรพราหมี โดยหลักพบในเกาะชวาและใช้งานทั่วเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทรระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 8 ถึง 16[2] อักษรนี้เป็นอักษรสระประกอบ มีเครื่องหมายเสริมสัทอักษรที่ใช้หยุดเสียงสระและเป็นตัวแทนของพยัญชนะบริสุทธิ์ หรือไว้แทนรูปสระอื่น[3][4] ทางภาคใต้ของไทยมีหลักฐานว่าเคยใช้อักษรนี้แต่ไม่แพร่หลายมากนัก ก่อนจะเปลี่ยนมาใช้อักษรไทยและอักษรขอม อักษรกวิไม่มีบ่าอักษรเช่นเดียวกับอักษรมอญโบราณ

ยูนิโคด[แก้]

มีการบรรจุอักษรกวิลงในยูนิโคดมาตรฐานรุ่นที่ 15.0 ในเดือนกันยายน ค.ศ. 2022 ตามข้อเสนอของ Aditya Bayu Perdana และ Ilham Nurwansah[5][6][2] Anshuman Pandey ได้ส่งข้อเสนอเบื้องต้นก่อนหน้าไปยังคณะกรรมการด้านเทคนิคของยูนิโคดใน ค.ศ. 2012[1]

บล็อกยูนิโคดของอักษรกวิอยู่ที่ U+11F00–U+11F5F และมีอักษรถึง 86 ตัวอักษร:

กวิ[1][2]
Official Unicode Consortium code chart (PDF)
  0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F
U+11F0x 𑼀 𑼁  𑼂  𑼃 𑼄 𑼅 𑼆 𑼇 𑼈 𑼉 𑼊 𑼋 𑼌 𑼍 𑼎 𑼏
U+11F1x 𑼐 𑼒 𑼓 𑼔 𑼕 𑼖 𑼗 𑼘 𑼙 𑼚 𑼛 𑼜 𑼝 𑼞 𑼟
U+11F2x 𑼠 𑼡 𑼢 𑼣 𑼤 𑼥 𑼦 𑼧 𑼨 𑼩 𑼪 𑼫 𑼬 𑼭 𑼮 𑼯
U+11F3x 𑼰 𑼱 𑼲 𑼳 𑼴 𑼵 𑼶 𑼷 𑼸 𑼹 𑼺 𑼾 𑼿
U+11F4x 𑽀 𑽁  𑽂  𑽃 𑽄 𑽅 𑽆 𑽇 𑽈 𑽉 𑽊 𑽋 𑽌 𑽍 𑽎 𑽏
U+11F5x 𑽐 𑽑 𑽒 𑽓 𑽔 𑽕 𑽖 𑽗 𑽘 𑽙
หมายเหตุ
1.^ แม่แบบ:Unicode version
2.^ พื้นที่สีเทาคือบริเวณที่ไม่ได้ลงรหัส

ระบบลูก[แก้]

พยัญชนะ[แก้]

อักษรพื้นฐาน (พยัญชนะ)
ka kha ga gha nga ca cha ja jha nya ṭa ṭha ḍa ḍha ṇa ta tha da dha na pa pha ba bha ma ya ra la wa śa ṣa sa ha/a
กวิ 𑼒 𑼓 𑼔 𑼕 𑼖 𑼗 𑼘 𑼙 𑼚 𑼛 𑼜 𑼝 𑼞 𑼟 𑼠 𑼡 𑼢 𑼣 𑼤 𑼥 𑼦 𑼧 𑼨 𑼩 𑼪 𑼫 𑼬 𑼭 𑼮 𑼯 𑼰 𑼱 𑼲
Kaganga
บาตัก (กาโร)
บาตัก (มันไดลิง) ᯄ᯦ ᯚ᯦
บาตัก (ปักปัก-ไดรี)
บาตัก (ซีมาลูงุน)
บาตัก (โตบา)
ไบบายิน
บูฮิด
ฮานูโนโอ
ลนตารา /
เรอจัง ꤿ
เรินจง ꤿ
ซุนดา
ฮานาจารากา
ชวา
บาหลี

ภาพ[แก้]

ฉบับคัดลอกจากศิลาจารึกเขียนในอักษรกวิ ภาษาชวาเทียบกับตระกูลอักษรพราหมีอื่น ๆ

ตารางข้างบนเป็นช่องเปรียบเทียบการพัฒนาของอักษรเทวนาครีในอักษรกวิ มอญเก่าแห่งอาณาจักรอังวะ และอักษรไทย

หมายเหตุ[แก้]

  1. จากสันสกฤต: कवि "kavi" แปลว่า "กวี";[1] อินโดนีเซีย: Aksara Kawi หรือ Aksara Carakan Kuna

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 Anshuman Pandey 2012. Preliminary Proposal to Encode the Kawi Script
  2. 2.0 2.1 Aditya Bayu Perdana and Ilham Nurwansah 2020. Proposal to encode Kawi
  3. De Casparis, J. G. Indonesian Palaeography: A History of Writing in Indonesia from the beginnings to c. AD 1500, Leiden/Koln, 1975, pp. 35-42 with footnotes
  4. Briggs, Lawrence Palmer (1950). "The Origin of the Sailendra Dynasty: Present Status of the Question". Journal of the American Oriental Society. JSTOR. 70 (2): 78–82. doi:10.2307/595536. ISSN 0003-0279. JSTOR 595536.
  5. "Unicode® 15.0.0". Unicode Consortium. 2022-09-13. สืบค้นเมื่อ 2022-09-13.
  6. Unicode Technical Committee 2021. Approved Minutes of UTC Meeting 166