สมหมาย กองวิสัยสุข
บทความชีวประวัตินี้เขียนเหมือนประวัติสมัครงาน |
บทความนี้ต้องการการจัดหน้า จัดหมวดหมู่ ใส่ลิงก์ภายใน หรือเก็บกวาดเนื้อหา ให้มีคุณภาพดีขึ้น คุณสามารถปรับปรุงแก้ไขบทความนี้ได้ และนำป้ายออก พิจารณาใช้ป้ายข้อความอื่นเพื่อชี้ชัดข้อบกพร่อง |
พลตำรวจโท สมหมาย กองวิสัยสุข ม.ป.ช., ม.ว.ม. | |
---|---|
สมาชิกวุฒิสภาไทย ชุดที่ 12 | |
อยู่ในวาระ | |
เริ่มดำรงตำแหน่ง 11 พฤษภาคม 2562 | |
ผู้บัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด | |
ดำรงตำแหน่ง 1 ตุลาคม พ.ศ. 2559 – 30 กันยายน พ.ศ. 2561 | |
ก่อนหน้า | พลตำรวจโท เรวัช กลิ่นเกสร |
ถัดไป | พลตำรวจโท ชินภัทร สารสิน |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 10 มิถุนายน พ.ศ. 2501 |
คู่สมรส | นุชนารถ กองวิสัยสุข |
ศิษย์เก่า | โรงเรียนนายร้อยตำรวจ รุ่นที่ 34 |
รับใช้ | ![]() |
---|---|
บริการ/ |
|
ประจำการ | พ.ศ. 2524 - 2561 |
ชั้นยศ | ![]() |
พลตำรวจโท สมหมาย กองวิสัยสุข (10 มิถุนายน 2501-) หรือ บิ๊กหมาย เป็นสมาชิกวุฒิสภาไทย ชุดที่ 12[1] นายตำรวจราชองครักษ์พิเศษ[2] อดีตผู้บัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด[3] อดีตรองผู้บัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง[4] อดีตรองผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 5[5] อดีตผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัดเชียงใหม่
ประวัติ[แก้]
พลตำรวจโท สมหมาย กองวิสัยสุข เกิดเมื่อวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2501 เป็นนักเรียนนายร้อยตำรวจรุ่นที่ 34 รุ่นเดียวกับ พลตำรวจเอก รุ่งโรจน์ แสงคร้าม อดีตรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ พลตำรวจเอก ชัยยะ ศิริอำพันธ์กุล อดีตเลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
ครอบครัว[แก้]
พลตำรวจโท สมหมาย สมรสกับ นางนุชนารถ กองวิสัยสุข
การศึกษา[แก้]
- รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต โรงเรียนนายร้อยตำรวจ รุ่นที่ 34 รุ่นเดียวกับ พลตำรวจโท ศานิตย์ มหถาวร อดีตผู้บัญชาการตำรวจนครบาล
การดำรงตำแหน่ง[แก้]
- 1 ต.ค. 2545 - รองผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัดนครพนม
- 16 ก.พ. 2552 - ผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัดเชียงใหม่[6]
- 15 พ.ย. 2553 - รองผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 5
- 23 ก.พ. 2555 - รองผู้บัญชาการประจำ สำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ(ทำหน้าที่ที่ปรึกษาด้านวิเคราะห์งานบุคคล)[7]
- 30 ต.ค. 2558 - รองผู้บัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง
- 1 ต.ค. 2559 - ผู้บัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด
เครื่องราชอิสริยาภรณ์[แก้]
- พ.ศ. 2563 –
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)[8]
- พ.ศ. 2557 –
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)[9]
- พ.ศ. 2526 –
เหรียญพิทักษ์เสรีชน ชั้นที่ 2 ประเภทที่ 2 (ส.ช.)[10]
- พ.ศ. 2552 –
เหรียญราชการชายแดน (ช.ด.)[11]
- พ.ศ. 2557 –
เหรียญจักรมาลา (ร.จ.ม.)[12]
อ้างอิง[แก้]
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา,พระบรมราชโองการ ประกาศแต่งตั้งสมาชิกวุฒิสภา หน้า ๗ เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๒๑ ง,๑๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๒
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2561/E/266/T_0001.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/E/012/1.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2558/E/311/1.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2554/E/007/32.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2552/E/050/19.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2555/E/040/1.PDF
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ประจำปี ๒๕๖๓, เล่ม ๑๓๘ ตอนพิเศษ ๑ ข หน้า ๑๔, ๒๒ มกราคม ๒๕๖๔
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ประจำปี ๒๕๕๗, เล่ม ๑๓๑ ตอนที่ ๒๗ ข หน้า ๒๑, ๓ ธันวาคม ๒๕๕๗
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญพิทักษ์เสรีชน, เล่ม ๑๐๐ ตอนที่ ๑๖๖ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๙, ๑๗ ตุลาคม ๒๕๒๖
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญราชการชายแดน, เล่ม ๑๒๖ ตอนที่ ๑๔ ข หน้า ๖, ๒๘ ตุลาคม ๒๕๕๒
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลา ประจำปี ๒๕๕๗, เล่ม ๑๓๒ ตอนที่ ๑๗ ข หน้า ๗๗, ๒ มิถุนายน ๒๕๕๘