สถานีบางจาก

พิกัด: 13°41′49″N 100°36′19″E / 13.6969°N 100.6053°E / 13.6969; 100.6053
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
บางจาก
E10

Bang Chak
ข้อมูลทั่วไป
ที่ตั้งถนนสุขุมวิท เขตพระโขนง กรุงเทพมหานคร
พิกัด13°41′49″N 100°36′19″E / 13.6969°N 100.6053°E / 13.6969; 100.6053
เจ้าของกรุงเทพมหานคร
ผู้ให้บริการระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ (บีทีเอสซี)
สาย
ชานชาลา2 ชานชาลาด้านข้าง
ราง2
โครงสร้าง
ประเภทโครงสร้างยกระดับ
ข้อมูลอื่น
รหัสสถานีE10
ประวัติ
เริ่มเปิดให้บริการ12 สิงหาคม พ.ศ. 2554; 12 ปีก่อน (2554-08-12)
ชื่อเดิมสุขุมวิท 95
ผู้โดยสาร
25641,371,287
การเชื่อมต่อ
สถานีก่อนหน้า รถไฟฟ้าบีทีเอส สถานีต่อไป
อ่อนนุช
มุ่งหน้า คูคต
สายสุขุมวิท ปุณณวิถี
มุ่งหน้า เคหะฯ
ที่ตั้ง
แผนที่

สถานีบางจาก (อังกฤษ: Bang Chak station; รหัส: E10) เป็นสถานีรถไฟฟ้าบีทีเอสแบบยกระดับในเส้นทางสายสุขุมวิท ยกระดับเหนือถนนสุขุมวิทในพื้นที่เขตพระโขนง กรุงเทพมหานคร เป็นสถานีแรกของส่วนต่อขยายสายสุขุมวิทของกรุงเทพมหานครจากสถานีอ่อนนุชถึงสถานีแบริ่ง จำนวน 5 สถานี[1]

ที่ตั้ง[แก้]

สถานีตั้งอยู่เหนือถนนสุขุมวิท ระหว่างซอยสุขุมวิท 95/1 และซอยสุขุมวิท 99 กับซอยสุขุมวิท 60/1 (สุคนธชาติ 3) และซอยสุขุมวิท 62 (สามภพนฤมิตร) ในพื้นที่แขวงบางจากและแขวงพระโขนงใต้ เขตพระโขนง กรุงเทพมหานคร

แผนผังของสถานี[แก้]

U3
ชานชาลา
ชานชาลาด้านข้าง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย
ชานชาลา 1 สายสุขุมวิท มุ่งหน้า เคหะฯ (ปุณณวิถี)
ชานชาลา 2 สายสุขุมวิท มุ่งหน้า คูคต (อ่อนนุช)
ชานชาลาด้านข้าง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย
U2
ชั้นขายบัตรโดยสาร
ชั้นขายบัตรโดยสาร ทางออก 1-5, ศูนย์บริการผู้โดยสาร
ห้องขายบัตรโดยสาร, เครื่องขายบัตรโดยสาร, ร้านค้า
G
ระดับถนน
- ป้ายรถประจำทาง, บางจากสแควร์, วิทยาลัยเทคโนโลยีกรุงเทพ, ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาสุขุมวิท 95, บริษัท ดีเคเอสเอช (ประเทศไทย) จำกัด,
สำนักงานขนส่งพื้นที่เขต 3, ปั๊มน้ำมันลอยฟ้า บางจาก, อาคารเอ็ม ทาวเวอร์, โรงเรียนสมาหารศึกษา, โรงแรมวีว่า การ์เด้น, อาคารเจียไต๋
ซอยสุขุมวิท 62, 60/2, 60/1, 99, 97/1, 97

รูปแบบของสถานี[แก้]

เป็นแบบมีชานชาลาอยู่ 2 ข้าง ขนาดมาตรฐาน กว้างประมาณ 20 เมตร ยาวประมาณ 150 เมตร ประกอบด้วยชั้นขายบัตรโดยสารและชานชาลา ในส่วนหลังคาชานชาลามีการออกแบบให้ป้องกันฝนสาดและแดดส่อง โดยเชื่อมปิดหลังคาทั้งหมด

สิ่งอำนวยความสะดวก[แก้]

ลิฟต์ สำหรับผู้พิการและผู้สูงอายุ จากทางเท้าทั้ง 2 ฝั่งไปยังชั้นจำหน่ายบัตรโดยสาร และจากชั้นขายบัตรโดยสารไปยังชั้นชานชาลาทั้ง 2 ฝั่ง

ทางเข้า-ออก[แก้]

  • 1 ซอยสุขุมวิท 95/1, ซอยสุขุมวิท 97, บางจากสแควร์ (บันไดเลื่อน)
  • 2 ซอยสุขุมวิท 60/2 (อัตโนมัติ) , แก้วสารพัดนึก, กรุงเทพคลินิกแพทย์สาขา 2 (บันไดเลื่อน, ลิฟต์)
  • 3 ซอยสุขุมวิท 97/1 (แสงตะวัน), ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาบางจาก, วิทยาลัยเทคโนโลยีกรุงเทพ, ซอยสุขุมวิท 99 (ลิฟต์)
  • 4 ซอยสุขุมวิท 62 (สามภพนฤมิตร), อาคารยังเต็งซือ, อาคารเอ็ม ทาวเวอร์, ปั๊มน้ำมันลอยฟ้า บางจาก, ปั๊มน้ำมันเชลล์, โรงงานเภสัชกรรมแอตแลนติค, ซิมโฟนีสุขุมวิท
  • 5 โรงเรียนสมาหารศึกษา, ซอยสุขุมวิท 60/1 (สุคนธชาติ 3), วิว่า การ์เดนท์, อาคารเจียไต๋, ตลาดบางจาก, ไอดีโอ เอส 93 (ทางเดินเชื่อมสะพานลอย ระยะทาง 100 เมตร)

จุดรวมพลอยู่ที่ทางออก 2 บริเวณหน้าโรงเรียนสมาหารศึกษา และ ทางออก 4 บริเวณหน้าปากซอยสุขุมวิท 62

เวลาให้บริการ[แก้]

ปลายทาง ขบวนแรก ขบวนสุดท้าย
สายสุขุมวิท[2]
ชานชาลาที่ 1
E23 เคหะฯ 05.48 00.20
E15 สำโรง 00.33
ชานชาลาที่ 2
N24 คูคต 05.24 23.42
N9 ห้าแยกลาดพร้าว 23.56

รถโดยสารประจำทาง[แก้]

องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ


สีแดง : เขตการเดินรถที่ 3

รถเอกชน

สีกรมท่า : เส้นทางของ บจก.ไทยสมายล์บัส (และบริษัทในเครือ)

ถนนสุขุมวิท[แก้]

องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ[แก้]

  • Handicapped/disabled access เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์
สายที่ เขตการเดินรถที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
2 (1) รถโดยสารประจำทาง อู่ปู่เจ้าสมิงพราย/อู่ช้างเอราวัณ สำนักงานที่ดินกรุงเทพ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

ขสมก. มีรถให้บริการตลอดคืน
อู่เมกาบางนา BTS อุดมสุข/ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
23 (1) เทเวศร์/ประตูนํ้า
รถโดยสารประจำทาง อู่ปู่เจ้าสมิงพราย/อู่ช้างเอราวัณ เทเวศร์ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
25 (3) รถโดยสารประจำทาง อู่แพรกษาบ่อดิน ท่าช้าง 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

มีรถให้บริการทางด่วน
มีรถให้บริการตลอดคืน
45 (1) รถโดยสารประจำทาง อู่ปู่เจ้าสมิงพราย ท่านํ้าสี่พระยา 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง มีรถให้บริการทางด่วน (ให้บริการเฉพาะชั่วโมงเร่งด่วน)
132 (3) รถโดยสารประจำทาง เคหะบางพลี สะพานพระโขนง 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
508 (2) รถโดยสารประจำทาง อู่ฟาร์มจระเข้สมุทรปราการ ท่าราชวรดิษฐ์ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) มีรถให้บริการทางด่วน
511 Handicapped/disabled access (2) รถโดยสารประจำทาง อู่ฟาร์มจระเข้สมุทรปราการ รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (บรมราชชนนี) 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

รถเอกชน[แก้]

สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
2 (3-1) Handicapped/disabled access ปากน้ำ สะพานพระพุทธยอดฟ้า รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส มีรถให้บริการตลอดคืน
25 (3-6) Handicapped/disabled access โรงเรียนปทุมคงคาสมุทรปราการ รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (เอกมัย) รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส ส่วนใหญ่หมดระยะแยกบางนา

38 (3-8) Handicapped/disabled access

รถโดยสารประจำทาง อู่ไทยสมายล์บัส (สาขามหาวิทยาลัยรามคำแหง 2) อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส
46 (3-10) รถโดยสารประจำทาง อู่รามคำแหง 2 ท่านํ้าสี่พระยา รถโดยสารประจำทางธรรมดาสีส้ม บจก.สิทธิชาญชัย

46 (3-10)

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

48 (3-11) Handicapped/disabled access

รถโดยสารประจำทาง อู่ไทยสมายล์บัส (สาขามหาวิทยาลัยรามคำแหง 2) วัดโพธิ์ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส
98 อุดมสุข อโศก รถโดยสารประจำทางสีครีม-น้ำเงิน บริษัท สหศรีสุพรรณยานยนต์ จำกัด
507 (3-13) Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทาง อู่ไทยสมายล์บัส (สาขาปากน้ำ) รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (สายใต้ใหม่) รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.สมาร์ทบัส
(เครือไทยสมายล์บัส)

513 (3-23E) Handicapped/disabled access

รถโดยสารประจำทาง อู่ไทยสมายล์บัส (สาขาปากน้ำ) รถโดยสารประจำทาง ศูนย์ราชการแจ้งวัฒนะ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส
3-32 Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทาง อู่ไทยสมายล์บัส (สาขาปากน้ำ) สวนสยาม รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส

ซอยสุขุมวิท 62 (ขึ้นทางด่วน)[แก้]

องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ[แก้]

  • Handicapped/disabled access เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ขึ้นทางด่วนที่ ลงทางด่วนที่ เวลาให้บริการ ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
180 (3) รถโดยสารประจำทาง อู่เมกาบางนา รถโดยสารประจำทาง อู่สาธุประดิษฐ์ สุขุมวิท 62 ท่าเรือคลองเตย ตลอดวัน รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง ขสมก.
511 (2) รถโดยสารประจำทาง อู่ฟาร์มจระเข้สมุทรปราการ รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (บรมราชชนนี) สุขุมวิท 62 ถนนเพชรบุรี ตลอดวัน 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

  • ถนนสุขุมวิท รถขสมก. สาย 2 23 25 45 501 508 511 รถเอกชน สาย 38 46 48 98 132

สถานที่สำคัญใกล้เคียง[แก้]

  • ตลาดบางจาก
  • บางจากสแควร์
  • สำนักงานขนส่งเขตพื้นที่ 3 กรมการขนส่งทางบก
  • โรงเรียนสมาหารศึกษา
  • วิทยาลัยเทคโนโลยีกรุงเทพ
  • โรงแรมวีว่า การ์เดนท์
  • อาคารเจียไต๋ (ซี.พี. ทาวเวอร์ สุขุมวิท)
  • อาคารเอ็ม ทาวเวอร์ (บริษัท บางจาก คอร์ปอเรชัน จำกัด (มหาชน) สำนักงานใหญ่)
  • โรงพยาบาลรวมใจรักษ์ สุขุมวิท 62

อ้างอิง[แก้]

  1. UK, DVV Media. "BTS to operate SkyTrain extension". Metro Report. สืบค้นเมื่อ 2016-12-01.
  2. "เวลาให้บริการของรถไฟฟ้าบีทีเอส" (PDF). 2021-11-01. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2023-08-25.