รายพระนามพระมหากษัตริย์แคนาดา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

รายพระนามพระมหากษัตริย์ที่ปกครองแคนาดาในฐานะอาณานิคมของฝรั่งเศสและอังกฤษ เครือจักรภพแห่งแคนาดาและในที่สุดก็เป็นรัฐที่มีอำนาจอธิปไตยในปัจจุบัน

ผู้ปกครองแคนาดา[แก้]

ภายใต้ฝรั่งเศส (1534–1763)[แก้]

พระรูป พระปรมาภิไธย รัชกาล พระนามเต็ม คู่อภิเษกสมรส
องค์อธิปัตย์นิวฟรานซ์
ฟรองซัวส์ที่ 1
(1494–1547)
ราชวงศ์วาลัวส์
24 กรกฎาคม 1534 31 มีนาคม 1547 ฟรองซัวส์ เอเลนอร์แห่งออสเตรีย
ดินแดนที่อ้างสิทธิ: 1534: ฌากส์ การ์ติเยร์ ในพระนามพระเจ้าฟรองซัวส์ อ้างดินแดนนิวฟรานซ์ (แคนาดา (นิวฟรานซ์)และอาคาเดีย)[1]
อองรีที่ 2
(1519–1559)
ราชวงศ์วาลัวส์
31 มีนาคม 1547 10 กรกฎาคม 1559 อองรี แคทเธอรีน เดอ เมดิซี
ฟรองซัวส์ที่ 2
(1544–1560)
ราชวงศ์วาลัวส์
10 กรกฎาคม 1559 5 ธันวาคม 1560 ฟรองซัวส์ แมรี่ พระราชินีนาถแห่งสก็อต
ชาร์ลส์ที่ 9
(1550–1574)
ราชวงศ์วาลัวส์
5 ธันวาคม 1560 30 พฤษภาคม 1574 ชาร์ลส์ แม็กซิมิเลียง เอลิซาเบธแห่งออสเตรีย
อองรีที่ 3
(1551–1589)
ราชวงศ์วาลัวส์
30 พฤษภาคม 1574 2 สิงหาคม 1589 อเล็กซองดร์ เอดัวร์ หลุยส์แห่งลอร์แรน
อองรีที่ 4
(1553–1610)
ราชวงศ์บูร์บง
2 สิงหาคม 1589 14 พฤษภาคม 1610 อองรี เดอ บูร์บง มาร์กาเร็ตแห่งวาลัวส์,
มารี เดอ เมดิซี
หลุยส์ที่ 13
(1601–1643)
ราชวงศ์บูร์บง
14 พฤษภาคม 1610 14 พฤษภาคม 1643 หลุยส์ แอนน์แห่งออสเตรีย
หลุยส์ที่ 14
(1638–1715)
ราชวงศ์บูร์บง
14 พฤษภาคม 1643 1 กันยายน1715 หลุยส์-ดิเยอดอนเน มารี แตเรซแห่งสเปน,
ฟรองซวส โดบิเญ
ดินแดนเปลี่ยน: 1655: ได้ ปลาเซนเทีย
หมายเหตุ: 1713: เสีย อาคาเดีย, ปลาเซนเทีย, และ อ่าวฮัดสันให้ สมเด็จพระราชินีนาถแอนน์
หลุยส์ที่ 15
(1710–1774)
ราชวงศ์บูร์บง
1 กันยายน1715 10 กุมภาพันธ์ 1763 หลุยส์ มารี เลซซินสกา
ดินแดนเปลี่ยน: 1763: เสียอาณานิคมแคนาดา, พร้อมกับนิวฟรานซ์ส่วนที่เหลือแก่พระเจ้าจอร์จที่ 3

ภายใต้อังกฤษ บริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักร (1497–1931)[แก้]

พระรูป พระปรมาภิไธย รัชกาล พระนามเต็ม คู่อภิเษกสมรส
องค์อธิปัตย์แห่งอาณานิคมแคนาดา[N 1]
เฮนรีที่ 7
(1457–1509)
ราชวงศ์ทิวดอร์
24 มิถุนายน 1497 21 เมษายน 1509 เฮนรี เอลิซาเบธแห่งยอร์ก
ดินแดนเปลี่ยน: 1497: จอห์น คาบอต ในนามของพระเจ้าเฮนรี อ้างสิทธิ์ในดินแดนที่ถูกเรียกว่า "แคนาดา" ในไม่ช้า มงกุฎของอังกฤษไม่ได้ใช้ข้อเรียกร้องนี้อย่างเป็นรูปธรรมจนกระทั่งถึงรัชสมัยของพระเจ้าจอร์จที่ 3, เมื่ออาณานิคมของแคนาดาถูกยกให้อย่างเป็นทางการจากฝรั่งเศสไปยังบริเตนใหญ่
เฮนรีที่ 8
(1491–1547)
ราชวงศ์ทิวดอร์
21 เมษายน 1509 28 มกราคม 1547 เฮนรี แคทเธอรีนแห่งอารากอน (1509), แอนน์ โบลีน (1533), เจน ซีมัวร์ (1536), แอนน์แห่งคลีฟส์ (1540), แคทเธอรีน โฮเวิร์ด (1540), แคทเธอรีน พาร์ (1543)
เอ็ดเวิร์ดที่ 6
(1537–1553)
ราชวงศ์ทิวดอร์
28 มกราคม 1547 6 กรกฎาคม 1553 เอ็ดเวิร์ด ไม่มี
แมรี่ที่ 1
(1516–1558)
ราชวงศ์ทิวดอร์
6 กรกฎาคม 1553 17 พฤศจิกายน 1558 แมรี่ เฟลิเปที่ 2 แห่งสเปน (ปกครองร่วม)
เฟลิเปที่ 2
(1527–1598)
ราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค
25 กรกฎาคม 1554 17 พฤศจิกายน 1558 เฟลิเป แมรี่ที่ 1 แห่งอังกฤษ (ปกครองร่วม)
เอลิซาเบธที่ 1
(1533–1603)
ราชวงศ์ทิวดอร์
17 พฤศจิกายน 1558 24 มีนาคม 1603 เอลิซาเบธ ไม่มี
ดินแดนเปลี่ยน: 1583: ฮัมฟรีย์ กิลเบิร์ต ในพระปรมาภิไธยสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธ อ้างสิทธิเหนือนิวฟาวด์แลนด์
เจมส์ที่ 1
(1566–1625)
ราชวงศ์สจวต
24 มีนาคม 1603 27 มีนาคม 1625 ชาร์ลส์ เจมส์ แอนน์แห่งเดนมาร์ก
ชาร์ลส์ที่ 1
(1600–1649)
ราชวงศ์สจวต
27 มีนาคม 1625 30 มกราคม 1649 ชาร์ลส์ เฮนเรียตตา มารีแห่งฝรั่งเศส
สมัยครอมเวลส์ 30 มกราคม 1649 29 พฤษภาคม 1660
ชาร์ลส์ที่ 2
(1630–1685)
ราชวงศ์สจวต
29 พฤษภาคม 1660 6 กุมภาพันธ์ 1685 ชาร์ลส์ แคทเธอรีนแห่งบรากันซา
หมายเหตุ: 1670: จัดตั้ง รูเพิร์ตสแลนด์
เจมส์ที่ 2
(1633–1701)
ราชวงศ์สจวต
6 กุมภาพันธ์ 1685 1 ธันวาคม 1688 เจมส์ แมรี่แห่งโมเดอร์นา
ว่าง 1 ธันวาคม 1688 13 กุมภาพันธ์ 1689
แมรี่ที่ 2
(1662–1694)
ราชวงศ์สจวต
13 กุมภาพันธ์ 1689 28 ธันวาคม 1694 แมรี่ วิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ
(ปกครองร่วม)
วิลเลียมที่ 3
(1650–1702)
ราชวงศ์ออเรนจ์ นัสเซา
13 กุมภาพันธ์ 1689 8 มีนาคม 1702 วิลเลียม แมรี่ที่ 2 แห่งอังกฤษ
(ปกครองร่วม)
แอนน์
(1665–1714)
ราชวงศ์สจวต
8 มีนาคม 1702 1 สิงหาคม 1714 แอนน์ เจ้าชายจอร์จแห่งเดนมาร์ก
หมายเหตุ: 1713: ได้ดินแดน อาคาเดีย, ปาลเซนเทียและ อ่าวฮัดสันจากพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส
จอร์จที่ 1
(1660–1727)
ราชวงศ์ฮันโนเฟอร์
1 สิงหาคม 1714 11 มิถุนายน 1727 จอร์จ หลุยส์ โซฟี โดโรเทีย แห่งเบราน์ชไวค์-ลือเนอบวร์ก
จอร์จที่ 2
(1683–1760)
ราชวงศ์ฮันโนเฟอร์
11 มิถุนายน 1727
ปฏิทินเก่า
25 ตุลาคม 1760
ปฏิทินใหม่
จอร์จ ออกุสตุส แคโรไลน์แห่งอันสบาค
จอร์จที่ 3
(1738–1820)
ราชวงศ์ฮันโนเฟอร์
25 ตุลาคม 1760 29 มกราคม 1820 จอร์จ วิลเลียม เฟรเดอริก ชาร์ล็อตแห่งเมคเลินบวร์ค-ชเตรลิทซ์
ดินแดนเปลี่ยน: 1763: ได้รับแคนาดาจาก พระเจ้าหลุยส์ที่ 15 แห่งฝรั่งเศส ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นจังหวัดควิเบก
1778: ในพระปรมาภิไธยพระเจ้าจอร์จที่ 3, เจมส์ คุก ได้สิทธิ์ในเกาะแวนคูเวอร์
1791: จัดตั้งจังหวัดแคนาดาบนและแคนาดาล่างออกจากจังหวัดควิเบก
1818: ceded Rupert's Land south of the 49th parallel to the United States; acquired the Louisiana Purchase north of the 49th parallel from the United States.
จอร์จที่ 4
(1762–1830)
ราชวงศ์ฮันโนเฟอร์
29 มกราคม 1820 26 มิถุนายน 1830 จอร์จ ออกุสตุส เฟรเดอริก แคโรไลน์แห่งบรันสวิค
วิลเลียมที่ 4
(1765–1837)
ราชวงศ์ฮันโนเฟอร์
26 มิถุนายน 1830 20 มิถุนายน 1837 วิลเลียม เฮนรี อเดเลดแห่งแซ็กซ์-ไมนิงเงิน
วิกตอเรีย
(1819–1901)
ราชวงศ์ฮันโนเฟอร์
20 มิถุนายน 1837 1 กรกฎาคม 1867 อเล็กซานดรินา วิกตอเรีย อัลเบิร์ตแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและโกธา
ดินแดนเปลี่ยน: 1840: รวมแคนาดาบนและแคนาดาล่างเป็นจังหวัดแคนาดา
1846: ได้สิทธิใน จังหวัดโคลัมเบีย เส้นขนานที่ 49 องศาเหนือและเกาะแวนคูเวอร์
องค์อธิปัตย์แห่งเครือจักรภพแคนาดา[N 2]
วิกตอเรีย
(1819–1901)
ราชวงศ์ฮันโนเฟอร์
1 กรกฎาคม 1867 22 มกราคม 1901 อเล็กซานดรินา วิกตอเรีย อัลเบิร์ตแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและโกธา
ผู้สำเร็จราชการ:วิสเคานต์มองค์, ลอร์ดลิสการ์, เอิร์ลแห่งดัฟเฟอริน, มาร์ควิสแห่งลอร์น, มาร์ควิสแห่งแลนด์สดาวน์, ลอร์ดสแตนลีย์แห่งเพรดสตัน, เอิร์ลแห่งอาบาร์ดีน, เอิร์ลแห่งมินโต
นายกรัฐมนตรี: จอห์น เอ แม็กโดนัลด์, อเล็กซานเดอร์ แม็กเคนซี, จอห์น แอบบอต, จอห์น ทอมป์สัน, แม็กเคนซี โบเวล, ชาร์ลส์ ทัปเปอร์, วิลฟรีด โลริเยร์
ดินแดนเปลี่ยน: 1867: รวมจังหวัดแคนาดา (และสร้างขึ้นจากออนทาริโอและควิเบก), โนวา สโกเทีย, และนิวบรันสวิกรวมเป็นเครือจักรภพแคนาดา
1870: จัดตั้งจังหวัดมานิโทบา
รวมรูเพิร์ตสแลนด์ (1870), บริติช โคลัมเบีย (1871), เกาะเจ้าชายเอ็ดเวิร์ด (1873), และดินแดนบริติช อาร์กติก (1880) ในสหภาพ
เอ็ดเวิร์ดที่ 7
(1841–1910)
ราชวงศ์แซ็กซ์-โคบูร์กและโกธา
22 มกราคม 1901 6 พฤษภาคม 1910 อัลเบิร์ต เอ็ดเวิร์ด อเล็กซานดราแห่งเดนมาร์ก
ผู้สำเร็จราชการ: เอิร์ลแห่งมินโต, เอิร์ลเกรย์
นายกรัฐมนตรี: วิลฟรีด โลริเยร์
ดินแดนเปลี่ยน: 1905: จัดตั้งจังหวัดอัลเบิร์ตและซาสกัตเชวันจากดินแดนตะวันตกเฉียงเหนือ
จอร์จที่ 5
(1865–1936)
ราชวงศ์แซ็กซ์-โคบูร์กและโกธา

(ก่อน 1917)
ราชวงศ์วินด์เซอร์ (หลัง 1917)

6 พฤษภาคม 1910 11 ธันวาคม 1931 จอร์จ เฟรเดอริก เออร์เนสต์ อัลเบิร์ต แมรี่แห่งเท็ก
ผู้สำเร็จราชการ: เอิร์ลเกรย์, ดยุกแห่งคอนน็อตและสแตรธเอิร์น, ดยุกแห่งดีวอนเชียร์, ลอร์ดบายอิ้งแห่งไวมี, มาร์ควิสแห่งวิลลิงดัน, เอิร์ลแห่งเบสบะระ
นายกรัฐมนตรี: วิลฟรีด โลริเยร์, โรเบิร์ต บอร์เดน, อาเทอร์ เมเคิน, วิลเลียมลีออน แม็กเคนซี คิง, ริชาร์ด บี เบนเนตต์
ดินแดนเปลี่ยน: 1931: มีการประกาศใช้ธรรมนูญเวสต์มินิสเตอร์ 1931, มีผลเป็นการสถาปนามงกุฎแห่งแคนาดานอกจากนิวฟันด์แลนด์เป็นเพียงส่วนเดียวของดินแดนปัจจุบันของแคนาดาที่ยังอยู่ภายใต้มงกุฎบริเตนใหญ่

มงกุฎแคนาดา (1931–ปัจจุบัน)[แก้]

ค.ศ. 1931 มงกุฎแคนาดากลายเป็นอิสระจากอังกฤษเนื่องจากธรรมนูญเวสต์มินิสเตอร์ 1931

พระรูป พระปรมาภิไธย รัชกาล พระนามเต็ม คู่อภิเษกสมรส
องค์อธิปัตย์แห่งแคนาดา
จอร์จที่ 5
(1865–1936)
ราชวงศ์วินด์เซอร์
11 ธันวาคม 1931 20 มกราคม 1936 จอร์จ เฟรเดอริก เออร์เนสต์ อัลเบิร์ต แมรี่แห่งเท็ค
ผู้สำเร็จราชการ: เอิร์ลแห่งเบสบะระ, ลอร์ดทวีตสเมียร์
นายกรัฐมนตรี: ริชาร์ด บี เบนเนตต์, วิลเลียม ลีออน แม็กเคนซี คิง
เอ็ดเวิร์ดที่ 8
(1894–1972)
ราชวงศ์วินด์เซอร์
20 มกราคม 1936 11 ธันวาคม 1936 เอ็ดเวิร์ด อัลเบิร์ด คริสเตียน จอร์จ แอนดรูว์ แพทริก เดวิด ไม่มี
ผู้สำเร็จราชการ: ลอร์ดทวีตสเมียร์
นายกรัฐมนตรี: วิลเลียม ลีออน แม็กเคนซี คิง
จอร์จที่ 6
(1895–1952)
ราชวงศ์วินด์เซอร์
11 ธันวาคม 1936 6 กุมภาพันธ์ 1952 อัลเบิร์ต เฟรเดอริก อาเทอร์ จอร์จ เอลิซาเบธ โบวส์-ลีออน
ผู้สำเร็จราชการ: ลอร์ดทวีตสเมียร์, เอิร์ลแห่งแอทโลน, วิสเคานต์อเล็กซานเดอร์แห่งตูนิส
นายกรัฐมนตรี: วิลเลียม ลีออน แม็กเคนซี คิง, หลุยส์ เซนต์ ลอเรนต์
ดินแดนเปลี่ยน: 1949: ผนวก นิวเฟาด์แลนด์ (ปัจจุบันเป็นนิวเฟาด์แลนด์และลาบราดอร์) ไปยังแคนาดาด้วยเหตุนี้จึงทำให้ดินแดนทั้งหมดของแคนาดาอยู่ภายใต้มงกุฎแห่งแคนาดา
เอลิซาเบธที่ 2
(1926–2022)
ราชวงศ์วินด์เซอร์
6 กุมภาพันธ์ 1952 8 กันยายน 2022 เอลิซาเบธ อเล็กซานดรา แมรี ฟิลิป ดยุคแห่งเอดินบะระ
ผู้สำเร็จราชการ: วิสเคานต์อเล็กซานเดอร์แห่งตูนิส, วินเซนต์ แมสเซย์, ฌอร์ฌ วานิเยร์, โรลองด์ มิเชอเนร์, ฌูลส์ เลแฌร์, เอ็ดเวิร์ด ชเรเยอร์, ฌาณ โซเว, เรย์ ฮนาติชิน, โรเมโอ เลอบลองก์, อาเดรียน คลาร์กสัน, มิแชล ฌอง, เดวิด จอห์นสตัน, ฌูลี ปาแยตต์, แมรี่ เมย์ ไซม่อน
นายกรัฐมนตรี: หลุยส์ เซนต์ลอเรนต์, จอห์น ดีเฟนเบเกอร์, เลสเตอร์ บี แพร์สัน, ปิแยร์ ทรูโด, โจ คลาร์ก, จอห์น เทอร์เนอร์, ไบรอัน มัลโรนี, คิม แคมป์เปล, ฌอง เครเตียง, พอล มาร์ติน, สตีเฟน ฮาร์เปอร์, จัสติน ทรูโด
ชาร์ลส์ที่ 3
(สมเด็จพระราชสมภพ 1948)
ราชวงศ์วินด์เซอร์
8 กันยายน 2022 ปัจจุบัน ชาร์ลส์ ฟิลิป อาร์เธอร์ จอร์จ คามิลลา พอร์กเกอร์-โบลส์
ผู้สำเร็จราชการ: แมรี่ เมย์ ไซม่อน
นายกรัฐมนตรี: จัสติน ทรูโด

หมายเหตุ[แก้]

  1. From 1763 to 1791 the colony of Canada was known as "Quebec" prior to returning to the name "Canada" (Upper and Lower) which were unified in 1841.
  2. In 1867, the separate colonies of Canada, Nova Scotia, and New Brunswick joined to form the Dominion of Canada. Subsequently, each of the other colonies in British North America eventually joined the union as provinces. Other provinces were created by the Dominion from its territories. Over time, Canada gradually gained increasing independence from the United Kingdom due to continued evolution in constitutional practice. However, it remained under the British Crown until 1931, when the Canadian Crown is generally accepted as having been created due to the enactment of the Statute of Westminster. The Dominion of Newfoundland continued as a separate British colony under the British Crown until it joined Canada in 1949.

เชิงอรรถ[แก้]

  1. David A. Lanegran; Carol Louise Urness (2008). Minnesota on the Map: A Historical Atlas. Minnesota Historical Society Press. pp. 10–. ISBN 978-0-87351-593-1.