รายชื่อประธานฟีฟ่า

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ประธานฟีฟ่า
ผู้ดำรงตำแหน่งคนปัจจุบัน
จันนี อินฟันตีโน

ตั้งแต่ 26 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2016
ฟีฟ่า
การเรียกขานHis Excellency
สมาชิกของคณะกรรมการบริหารฟีฟ่า
ที่ว่าการสำนักงานใหญ่ฟีฟ่า ซือริช ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
ผู้แต่งตั้งสภาฟีฟ่า
วาระ4 ปี
จัดการเลือกตั้งในปีเดียวกับฟุตบอลโลก
(ดำรงตำแหน่งอีกได้ 3 ครั้ง)
ตราสารจัดตั้งระเบียบข้อบังคับฟีฟ่า
สถาปนา21 พฤษภาคม ค.ศ. 1904
คนแรกรอแบร์ เกแร็ง
รองรองประธานอาวุโสฟีฟ่า
เงินตอบแทน2.6 ล้านปอนด์ (จำนวนใน ค.ศ. 2015)
เว็บไซต์เว็บไซต์ทางการ

นี่คือ รายชื่อประธานสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ (ฟีฟ่า) ฝ่ายบริหารฟุตบอลของโลก[1] มีเพียงแดเนียล เบอร์ลีย์ วุลฟอลล์, Rodolphe Seeldrayers และอาร์เธอร์ ดรูว์รีที่เสียชีวิตขณะดำรงตำแหน่ง

ประธานคนปัจจุบันคือจันนี อินฟันตีโนที่ได้รับเลือกในวันที่ 26 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2016 ในช่วงสมัยประชุมวิสามัญของคณะกรรมการบริหารฟีฟ่า[2][3] ก่อนหน้านั้น อีซา ฮายาตูเคยดำรงตำแหน่งรักษาการประธานหลังการถอดถอนเซ็พ บลัทเทอร์ในวันที่ 8 ตุลาคม ค.ศ. 2015 ซึ่งผลที่ตามมาของเขาถือการห้ามมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่เกี่ยวกับฟุตบอลทั้งหมดเป็นเวลา 6 ปีในวันที่ 21 ธันวาคม ค.ศ. 2015[4][5]

รายชื่อประธานฟีฟ่า[แก้]

ลำดับ ภาพ ชื่อ
(เกิด–เสียชีวิต)
ดำรงตำแหน่ง ประเทศต้นกำเนิด อ้างอิง
เริ่มต้น สิ้นสุด ระยะเวลา
1 รอแบร์ เกแร็ง
(1876–1952)
23 พฤษภาคม ค.ศ. 1904 4 มิถุนายน ค.ศ. 1906 2 ปี 12 วัน  ฝรั่งเศส
2 แดเนียล เบอร์ลีย์ วุลฟอลล์
(1852–1918)
4 มิถุนายน ค.ศ. 1906 24 ตุลาคม ค.ศ. 1918 (เสียชีวิต) 12 ปี 142 วัน  อังกฤษ
Cornelis August Wilhelm Hirschman[note 1]
(1877–1951)
24 ตุลาคม ค.ศ. 1918 (รักษาการ) ค.ศ. 1920[note 2] 1 ปี 309 วัน  เนเธอร์แลนด์
ฌูล รีแม[note 3]
(1873–1956)
ค.ศ. 1920[note 2] (รักษาการ) 1 มีนาคม ค.ศ. 1921 0 ปี 185 วัน  ฝรั่งเศส
3 1 มีนาคม ค.ศ. 1921 21 มิถุนายน ค.ศ. 1954 33 ปี 112 วัน
4 Rodolphe Seeldrayers
(1876–1955)
21 มิถุนายน ค.ศ. 1954 7 ตุลาคม ค.ศ. 1955 (เสียชีวิต) 1 ปี 108 วัน  เบลเยียม
อาร์เธอร์ ดรูว์รี
(1891–1961)
7 ตุลาคม ค.ศ. 1955 (รักษาการ) 9 มิถุนายน ค.ศ. 1956 0 ปี 246 วัน  อังกฤษ
5 9 มิถุนายน ค.ศ. 1956 25 มีนาคม ค.ศ. 1961 (เสียชีวิต) 4 ปี 289 วัน
Ernst Thommen
(1899–1967)
25 มีนาคม ค.ศ. 1961 (รักษาการ) 28 กันยายน ค.ศ. 1961 0 ปี 187 วัน  สวิตเซอร์แลนด์
6 สแตนลีย์ เราส์[note 4]
(1895–1986)
28 กันยายน ค.ศ. 1961 8 พฤษภาคม ค.ศ. 1974 12 ปี 222 วัน  อังกฤษ
7 ฌูเวา อาเวลังฌี[note 5]
(1916–2016)
8 พฤษภาคม ค.ศ. 1974 8 มิถุนายน ค.ศ. 1998 24 ปี 31 วัน  บราซิล
8 เซพพ์ บลัทเทอร์
(เกิด ค.ศ. 1936)
8 มิถุนายน ค.ศ. 1998 8 ตุลาคม ค.ศ. 2015 (ถูกถอดถอน)[note 6] 17 ปี 122 วัน  สวิตเซอร์แลนด์
อีซา ฮายาตู[note 7]
(เกิด ค.ศ. 1946)
8 ตุลาคม ค.ศ. 2015 (รักษาการ) 26 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2016 0 ปี 141 วัน  แคเมอรูน
9 จันนี อินฟันตีโน
(เกิด ค.ศ. 1970)
26 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2016 อยู่ในวาระ 8 ปี 54 วัน  สวิตเซอร์แลนด์ /
 อิตาลี

หมายเหตุ

  1. ได้รับเลือกเป็นเลขาธิการกิตติมศักดิ์ของฟีฟ่า
  2. 2.0 2.1 รีแมเคยได้รับการแต่งตั้งให้ควบคุมฟีฟ่าในฐานะประธานในโอลิมปิกฤดูร้อน 1920 ที่แอนต์เวิร์ป ประเทศเบลเยียม[6][7]
  3. ได้รับเลือกเป็นประธานกิตติมศักดิ์ของฟีฟ่าในวันที่ 21 มิถุนายน ค.ศ. 1954
  4. ได้รับเลือกเป็นประธานกิตติมศักดิ์ของฟีฟ่าในวันที่ 11 มิถุนายน ค.ศ. 1974
  5. ได้รับเลือกเป็นประธานกิตติมศักดิ์ของฟีฟ่าในวันที่ 8 มิถุนายน ค.ศ. 1998
  6. หลังหยุดทำหน้านี้ บลัทเทอร์ถูกแบนเป็นเวลา 6 ปีในวันที่ 21 ธันวาคม ค.ศ. 2015[5][8]
  7. หลังการแบนเซพพ์ บลัทเทอร์ อีซา ฮายาตูดำรงตำแหน่งประธานฟีฟ่าเป็นการชั่วคราวตามมาตรา 32(6) ของระเบียบข้อบังคับฟีฟ่า เนื่องจากฮายาตูดำรงตำแหน่งรองประธานคณะกรรมการบริหารของฟีฟ่านานที่สุด[9]

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "The eight Presidents" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 21 December 2016. สืบค้นเมื่อ 20 December 2016.
  2. "Gianni Infantino elected FIFA President". FIFA.com (Press release). Fédération Internationale de Football Association. February 26, 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 February 2016. สืบค้นเมื่อ June 27, 2018.
  3. Baxter, Kevin (February 26, 2016). "Gianni Infantino is elected FIFA president". The Los Angeles Times. สืบค้นเมื่อ February 26, 2016.
  4. "Issa Hayatou takes temporary charge of Fifa". BBC Sport. 8 October 2015. สืบค้นเมื่อ 8 October 2015.
  5. 5.0 5.1 "Sepp Blatter: End of era for Fifa boss". BBC. December 21, 2015. สืบค้นเมื่อ June 27, 2018.
  6. "Jules Rimet: The Father of the World Cup". FIFA. 17 June 1998. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 September 2020. สืบค้นเมื่อ 24 December 2020.
  7. "History of FIFA – More associations follow". FIFA. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 April 2021. สืบค้นเมื่อ 24 December 2020.
  8. "Sepp Blatter & Michel Platini lose Fifa appeals but bans reduced". BBC Sport. สืบค้นเมื่อ 24 February 2016.
  9. "Acting FIFA President Issa Hayatou". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. December 21, 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 October 2015. สืบค้นเมื่อ December 22, 2015. On 8 October 2015, given the decision of the Adjudicatory Chamber of the Independent Ethics Committee to provisionally ban Joseph S. Blatter from all football activities on a national and international level, Issa Hayatou assumed the Office of FIFA President on an interim basis, as the longest-serving vice-president on FIFA's Executive Committee - according to article 32 (6) of the FIFA Statutes.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]