ราชมรรคา
หน้าตา
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
ราชมรรคา (อังกฤษ: Royal Roads) คือเส้นทางเชื่อมโยงบ้านเมืองชั้นในของอาณาจักรเขมรโบราณ (ขอม ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน หมายถึงชาวเขมรโบราณ) อันเป็นบรรพบุรุษร่วมสายหนึ่งของชาวเขมรถิ่นไทยในประเทศไทยชาวเขมรในประเทศกัมพูชาและชาวขะแมร์กรอมในตอนใต้ของประเทศเวียดนามในปัจจุบัน มีหลักฐานเป็น ถนน สะพาน ปราสาท จารึก ภาษาสันสกฤตและภาษาเขมร
ปราสาทหินในประเทศไทย
[แก้]- อุทยานประวัติศาสตร์พิมาย[1]
- อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง
- อุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ
- อุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์
- อุทยานประวัติศาสตร์กลุ่มปราสาทตาเมือนและปราสาทศีขรภูมิ
- ปราสาทเมืองต่ำ
- ปรางค์กู่ จังหวัดร้อยเอ็ด
- ปราสาทช่างปี่
- ปราสาทตระเปียงเตีย
- ปราสาทตาควาย
- ปราสาทตาเมือน
- ปราสาทตาเมือนธม
- ปราสาทตาเมือนโต๊ด
- ปราสาทตาเล็ง
- ปราสาทบ้านพลวง
- ปราสาทบ้านสนม (ปราสาทวัดธาตุ)
- ปราสาทบ้านสมอ
- ปราสาทบ้านไพล
- ปราสาทปรางค์กู่
- ปราสาทยายเหงา
- ปราสาทวัดปรางค์ทอง
- ปราสาทศีขรภูมิ
- ปราสาทสระกำแพงน้อย
- ปราสาทสระกำแพงใหญ่
- ปราสาทสังข์ศิลป์ชัย
- ปราสาทหินพนมวัน
- ปราสาทห้วยทับทัน
- ปราสาทโดนตวล
- ปราสาทภูมิโปน
- ปราสาทบ้านอนันต์
ธรรมศาลาตามเส้นทางราชมรรคา (ในเขตประเทศไทย)
[แก้]- ปราสาทกู่ศิลา
- ปราสาทห้วยแคน ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ตำบลห้วยแคน อำเภอห้วยแถลง จังหวัดนครราชสีมา เป็นธรรมศาลาหลังที่สองจากเมืองพิมาย ได้รับการบูรณะแล้ว แต่ยังอยู่ในสภาพชำรุด
- ปราสาทบ้านสำโรง เป็นเป็นปราสาทที่ยังไม่ได้รับการบูรณะ มีต้นไม้ใหญ่ขึ้นปกคลุม สภาพพังทลายและถูกดินทับถมตามกาลเวลา มีลักษณะเป็นโคกกลางท้องนา ตั้งอยู่ที่บ้านสำโรง ตำบลไผทรินทร์ อำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์
- ปราสาทหนองตาเปล่ง
- ปราสาทหนองปล่อง
- ปราสาทหนองกง (โคกปราสาท)
- ปราสาทบ้านบุ
- ปราสาทถมอ
- ปราสาทตาเมือน
ธรรมศาลาตามเส้นทางราชมรรคา (ในเขตประเทศกัมพูชา)
[แก้]มรดกโลก
[แก้]อยู่ในขั้นตอนการพิจารณาเพื่อยกระดับให้เป็นมรดกโลก พร้อมกับ กลุ่มป่าแก่งกระจาน และ อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท