ยามาโตโกริยามะ

พิกัด: 34°39′N 135°47′E / 34.650°N 135.783°E / 34.650; 135.783
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ยามาโตโกริยามะ

大和郡山市
ทิวทัศน์นครยามาโตโกริยามะ มองจากปราสาทโคริยามะ
ทิวทัศน์นครยามาโตโกริยามะ มองจากปราสาทโคริยามะ
ธงของยามาโตโกริยามะ
ธง
ตราอย่างเป็นทางการของยามาโตโกริยามะ
ตรา
ที่ตั้งของยามาโตโกริยามะ (เน้นสีชมพู) ในจังหวัดนาระ
ที่ตั้งของยามาโตโกริยามะ (เน้นสีชมพู) ในจังหวัดนาระ
แผนที่
ยามาโตโกริยามะตั้งอยู่ในประเทศญี่ปุ่น
ยามาโตโกริยามะ
ยามาโตโกริยามะ
ที่ตั้งในประเทศญี่ปุ่น
พิกัด: 34°39′N 135°47′E / 34.650°N 135.783°E / 34.650; 135.783
ประเทศธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
ภูมิภาคคันไซ
จังหวัด จังหวัดนาระ
การปกครอง
 • นายกเทศมนตรีคิโยชิ อูเอดะ (上田 清)
พื้นที่
 • ทั้งหมด42.69 ตร.กม. (16.48 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2023)
 • ทั้งหมด81,704 คน
 • ความหนาแน่น1,900 คน/ตร.กม. (5,000 คน/ตร.ไมล์)
เขตเวลาUTC+09:00 (เวลามาตรฐานญี่ปุ่น)
ที่อยู่สำนักงาน248-4 Kitakōriyama-chō, Yamatokōriyama-shi, Nara-ken
639–1198
เว็บไซต์www.city.yamatokoriyama.nara.jp
สัญลักษณ์
ดอกไม้เบญจมาศ, ยามะซากูระ
ต้นไม้สนดำญี่ปุ่น, หลิว

ยามาโตโกริยามะ (ญี่ปุ่น: 大和郡山市โรมาจิYamatokōriyama-shi) เป็นนครที่ตั้งในจังหวัดนาระ ภูมิภาคคันไซ ประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่ใกล้กับนครโอซากะ โดยนั่งรถไฟไปประมาณ 30 นาที ยามาโตโกริยามะเป็นเมืองที่ได้ชื่อว่าเป็น "เมืองแห่งปลาทอง"

ภูมิศาสตร์[แก้]

เทศบาลข้างเคียง[แก้]

ยามาโตโกริยามะมีอาณาเขตติดกับเทศบาลที่อยู่ข้างเคียง ดังนี้

เศรษฐกิจ[แก้]

ฝาปิดท่อถนนรูปปลาทอง

ยามาโตโกริยามะเป็นเมืองที่ได้ชื่อว่าเป็น "เมืองแห่งปลาทอง"[1] เนื่องจากเป็นเมืองที่ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกร โดยมีผู้ทำฟาร์มปลาทองประมาณ 300 ครอบครัว และผลผลิตปลาทองโดยเฉลี่ยในแต่ละปีของเมืองนี้อยู่ที่ 60 ล้านตัว (ข้อมูล พ.ศ. 2545)[2] ถือว่าเป็นอันดับสองของประเทศญี่ปุ่นรองจากนครฮามามัตสึเท่านั้น

โดยการเพาะเลี้ยงปลาทองของประชากรในนครยามาโตโกริยามะ สืบทอดกันมาไม่ต่ำกว่า 500 ปี หลังสงครามภายในประเทศ โดยประชากรที่ยึดอาชีพเพาะเลี้ยงปลาทองส่วนใหญ่สืบเชื้อสายมาจากซามูไรของโชกุนโทกูงาวะ อิเอยาซุ

ปลาทองส่วนใหญ่ที่เพาะขยายพันธุ์จากที่นี่ จะเป็นปลาทองสายพันธุ์ดั้งเดิมและได้รับความนิยม เนื่องจากมีการอนุรักษ์และพัฒนาสายพันธุ์กันมาอย่างต่อเนื่อง โดยตระกูลที่มีบทบาทมากในการเพาะพันธุ์ปลาทองที่นี่คือตระกูลชิมาดะ

ถนนหนทาง ตลอดจนป้ายบอกทางสาธารณะต่าง ๆ ในเมืองยามาโตโกริยามะ มักทำเป็นรูปปลาทอง อันเป็นเสมือนสัญลักษณ์ประจำเมือง

อ้างอิง[แก้]

  1. Rocketnews Retrieved 18 June 2016
  2. นิตยสาร fish zone vol.3 no.26 (พ.ศ. 2545)

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]