มีแชล มายอร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ศาสตราจารย์ ดร.วิเลิศ ภูริวัชร

คณบดี คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดำรงตำแหน่งคณบดีวาระที่ 2

“วิสัยทัศน์ที่ดีนั้นต้องมีความก้าวล้ำ ไม่ใช่แค่ก้าวทัน และต้องไม่ใช่สิ่งที่เราทำได้ดีอยู่แล้ว แต่ต้องเป็นจุดหมายที่เรายังไม่เคยไปมาก่อนเพื่อท้าทายเราฝันให้ใหญ่ และไปให้ถึงความเป็นเลิศ” จาก..ความเชี่ยวชาญด้านการบริหารธุรกิจและองค์กรจากมหาวิทยาลัยชั้นนำ


ประวัติการศึกษา

● ปริญญาตรี บริหารธุรกิจบัณฑิต(เกียรตินิยม) (สาขาการเงินและการธนาคาร), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

● ปริญญาโท Master of Public and Private Management, Yale University, USA

● ปริญญาโท Master of Business Administration, Yale University, USA

● Certificate in Human Resource Management, Harvard University, USA

● DPhil (Management Studies), University of Oxford, UK


สู่…ความเชี่ยวขาญ ด้านการบริหารธุรกิจและองค์กรจากมหาวิทยาลัยชั้นนำ

–––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––

ประวัติการทำงาน

● ดำรงตำแหน่ง ศาสตราจารย์ สาขาบริหารธุรกิจ สังกัดคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งแต่ พ.ศ.2564

● คณบดีคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วาระที่ 1 ตั้งแต่ พ.ศ.2562 ถึง เมษายน 2566

● คณบดีคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วาระที่ 2 ตั้งแต่ พ.ศ.2566 ถึงปัจจุบัน

● อดีตหัวหน้าภาควิชาการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี 2 วาระ ปี พ.ศ.2557-2562

● อดีตประธานคณะกรรมการดำเนินงานหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี

● อดีตรองประธานคณะกรรมการดำเนินงานหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี

● อดีตรองประธานกรรมการดำเนินงานหลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี

● อดีตหัวหน้าหน่วยงานสื่อสารองค์กร คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี

● อดีตกรรมการดำเนินงานหลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี

● กรรมการสภามหาวิทยาลัย ตั้งแต่วันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2565 ถึงปัจจุบัน

● คณะกรรมการนโยบายการเงิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

● คณะกรรมการพิจารณากำหนดตำแหน่งเชี่ยวชาญระดับต้น เชี่ยวชาญระดับกลาง และเชี่ยวชาญระดับสูง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

● คณะกรรมการประกันคุณภาพ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

● คณะกรรมการอำนวยการวิเคราะห์กรอบอัตรากำลังของมหาวิทยาลัย

● อดีตผู้อำนวยการหลักสูตรสหสาขาวิชาธุรกิจเทคโนโลยีและการจัดการนวัตกรรม บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


ระดับนานาชาติ

● กรรมการประเมินผลงานคุณภาพระดับโลก AACSB (Association to Advance Collegiate Schools of Business)

● สถาบันรับรองมาตรฐานการศึกษาด้านบริหารธุรกิจ จากสหรัฐอเมริกา

● กรรมการประเมินผลงานคุณภาพระดับโลก EQUIS (EFMD Quality Improvement System)

● สถาบันรับรองมาตรฐานการศึกษาด้านบริหารธุรกิจ จากสหภาพยุโรป

● กรรมการประเมินผลงานคุณภาพระดับโลก AMBA (Association of MBAs)

● สถาบันรับรองมาตรฐานหลักสูตรบริหารธุรกิจระดับบัณฑิตศึกษา จากสหราชอาณาจักร

● ประธานกรรมการวิจัยร่วมกับ The World Economic Forum : WEF ในส่วนของการทำวิจัยในประเทศไทย

● กรรมการตัดสินในงานระดับโลก Youth4South Entrepreneurship Competition at United Nations

มีแชล กุสตาฟว์ เอดัวร์ มายอร์ (ฝรั่งเศส: Michel Gustave Édouard Mayor; เกิดวันที่ 12 มกราคม ค.ศ. 1942) เป็นศาสตราจารย์ชาวสวิสประจำคณะดาราศาสตร์ มหาวิทยาลัยเจนีวา ค.ศ. 1995 เขาได้ร่วมงานกับดีดีเย เกโล ค้นพบดาวเคราะห์นอกระบบ 51 ม้าบิน บี โคจรรอบดาวฤกษ์คล้ายดวงอาทิตย์ คือ 51 ม้าบิน[1]

มายอร์สำเร็จการศึกษาด้านฟิสิกส์จากมหาวิทยาลัยโลซาน และสำเร็จปริญญาเอกด้านดาราศาสตร์ ใน ค.ศ. 1971 พร้อมการทำงานที่หอดูดาวเจนีวา เขายังได้ทำงานในหอดูดาวสำคัญหลายแห่ง เช่น หอสังเกตการณ์ดาราศาสตร์ที่เคมบริดจ์, หอดูดาวท้องฟ้าซีกใต้แห่งยุโรป ที่ประเทศชิลี, หอดูดาวที่ฮาวาย เป็นต้น

นับถึง ค.ศ. 1998 เขาได้ร่วมเขียนบทความวิจัยทางวิทยาศาสตร์มากกว่า 200 ชิ้น ระหว่าง ค.ศ. 1989–1992 เขาได้ร่วมงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์กับหอดูดาวท้องฟ้าซีกใต้แห่งยุโรประหว่าง ค.ศ. 1988–1991 เขาได้ร่วมในการศึกษาวิจัยโครงสร้างของจักรวาลกับสหพันธ์ดาราศาสตร์สากล และจาก ค.ศ. 1990–1993 เขาได้เข้าร่วมในสมาคมฟิสิกส์ดาราศาสตร์และดาราศาสตร์สวิส (Swiss Society for Astrophysics and Astronomy)

เดือนสิงหาคม ค.ศ. 1998 มายอร์ได้รับรางวัลมาร์แซล เบอนวสต์ สำหรับผลงานอันโดดเด่นที่ส่งผลต่อมนุษยชาติ ค.ศ. 2000 เขาได้รับรางวัล Balzan Prize ต่อมา ค.ศ. 2004 เขาได้รับเหรียญรางวัลอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ และ ค.ศ. 2005 เขาได้รับรางวัลชอว์ สาขาดาราศาสตร์

หลังจากการค้นพบดาวเคราะห์นอกระบบดวงแรกรอบดาว 51 ม้าบิน มายอร์และทีมงานของเขาก็ได้ค้นพบดาวเคราะห์นอกระบบดวงอื่นอีกเป็นจำนวนมาก ค.ศ. 2003 เครื่องมือตรวจจับดาวเคราะห์ชิ้นล่าสุดของเขาคือ HARPS ได้เริ่มเปิดใช้งาน และสร้างผลงานการค้นพบจำนวนมาก

ค.ศ. 2007 มายอร์เป็นหนึ่งในทีมนักวิทยาศาสตร์ชาวยุโรป 11 คนจากหอดูดาวท้องฟ้าซีกใต้แห่งยุโรป ที่ลาซิยา ประเทศชิลี ค้นพบกลีเซอ 581 ซี ดาวเคราะห์นอกระบบดวงแรกที่อยู่ในเขตอาศัยได้[2] ค.ศ. 2009 มายอร์และทีมของเขาค้นพบดาวเคราะห์นอกระบบที่มีมวลน้อยที่สุดโคจรรอบดาวฤกษ์ในแถบลำดับหลัก คือ กลีเซอ 581 อี[3]

ใน ค.ศ. 2019 มายอร์และเกโลได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์จากผลงานการค้นพบดาวเคราะห์นอกระบบที่โคจรรอบดาวฤกษ์คล้ายดวงอาทิตย์ ร่วมกับจิม พีเบิลส์ ที่ได้รับรางวัลจากการค้นพบทฤษฎีทางจักรวาลวิทยาเชิงกายภาพ[4]

อ้างอิง[แก้]

  1. Michel Mayor and Didier Queloz (1995). "A Jupiter-mass companion to a solar-type star". Nature. 378: 355–359. doi:10.1038/378355a0.
  2. Seth Borenstein (2007-04-25). "Red dwarf is mother to an Earth-like planet". SMH.com. Associated Press. สืบค้นเมื่อ 2009-03-17.
  3. Mayor; และคณะ (2009). "The HARPS search for southern extra-solar planets,XVIII. An Earth-mass planet in the GJ 581 planetary system" (PDF). Astronomy and Astrophysics. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2009-05-21. สืบค้นเมื่อ 2009-10-10.
  4. "The Nobel Prize in Physics 2019". Nobelprize.org. สืบค้นเมื่อ October 8, 2019.