ไพโอเนียร์ 11

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไพโอเนียร์ 11
ประเภทภารกิจการสำรวจดาวเคราะห์และเฮลิโอสเฟียร์
ผู้ดำเนินการNASA / ARC
COSPAR ID1973-019A
SATCAT no.6421
เว็บไซต์Pioneer Project website (archived)
NASA Archive page
ระยะภารกิจ22 ปี 7 เดือน 19 วัน
ข้อมูลยานอวกาศ
ผู้ผลิตTRW
มวลขณะส่งยาน258.5 กก.[1]
กำลังไฟฟ้า155 วัตต์ (ตอนปล่อยตัว)
เริ่มต้นภารกิจ
วันที่ส่งขึ้นApril 6, 1973, 02:11:00 (1973-04-06UTC02:11Z) UTC[1]
จรวดนำส่งAtlas SLV-3D Centaur-D1A Star-37E
ฐานส่งแหลมคะแนเวอรัล LC-36B
สิ้นสุดภารกิจ
ติดต่อครั้งสุดท้าย24 พฤศจิกายน ค.ศ. 1995 (1995-11-24)
บินผ่านดาวพฤหัสบดี
เข้าใกล้สุด3 ธันวาคม ค.ศ. 1974
ระยะทาง43,000 กิโลเมตร (27,000 ไมล์)
บินผ่านดาวเสาร์
เข้าใกล้สุด1 กันยายน ค.ศ. 1979
ระยะทาง21,000 กิโลเมตร (13,000 ไมล์)
 

ไพโอเนียร์ 11 (อังกฤษ: Pioneer 11) คือยานสำรวจอวกาศแบบไม่มีคนบังคับที่เดินทางระหว่างดาวเคราะห์ ขึ้นสู่อวกาศเมื่อ 6 เมษายน ค.ศ. 1973 เป็นยานสำรวจอวกาศในโครงการไพโอเนียร์ เพื่อศึกษาแถบดาวเคราะห์น้อย ,สภาพแวดล้อมรอบดาวพฤหัสบดี ,ลมสุริยะ ,รังสีคอสมิก และดาวเสาร์ และท้ายที่สุดได้ไกลออกไปในระบบสุริยะ และเฮลิโอสเฟียร์[2] เป็นการสำรวจแรกที่พบดาวเสาร์ และครั้งที่สองที่บินผ่านแถบดาวเคราะห์น้อย และดาวพฤหัสบดี แต่เนื่องจากข้อจำกัดของพลังงานและระยะทางมากมายในการสำรวจ การสื่อสารได้สูญหายไปตั้งแต่ 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1995

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 "Pioneer 11". NASA's Solar System Exploration website. สืบค้นเมื่อ December 1, 2022.
  2. Fimmel, R. O.; Swindell, W.; Burgess, E. Pioneer Odyssey. SP-349/396. Washington, D.C.: NASA-Ames Research Center. OCLC 3211441. สืบค้นเมื่อ January 9, 2011.

แหล่งที่มา[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]