ไนไดจิง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ประเทศญี่ปุ่นก่อนสมัยใหม่
ตราประจำราชวงศ์ญี่ปุ่น
ส่วนหนึ่งของชุดการเมืองการปกครองในยุคนะระและยุคเฮอัง

ไดโจกัง
(สภาอำมาตย์)
อัครมหาเสนาบดี  / ประธานสภา
ไดโจไดจิง
มหาเสนาบดีฝ่ายซ้ายซาไดจิง
มหาเสนาบดีฝ่ายขวาอูไดจิง
มหาเสนาบดีกลางไนไดจิง
อำมาตย์ใหญ่ไดนะงง
อำมาตย์กลางชูนะงง
อำมาตย์น้อยโชนะงง
กรมทั้งแปด
กรมบริหารกลาง
นะกะสึกะซะโช
กรมพิธีการชิคิบุโช
กรมอาลักษณ์จิบุโช
กรมมหาดไทยมิมบุโช
กรมกลาโหมเฮียวบุโช
กรมยุติธรรมเกียวบุโช
กรมคลังโอคุระโช
กรมวังคุไนโช

ไนไดจิง (ญี่ปุ่น: 内大臣โรมาจิNaidaijinทับศัพท์uchi no otodo) หมายถึง "มหาเสนาบดีกลาง" เป็นตำแหน่งโบราณในราชสำนักของญี่ปุ่น บทบาทและอำนาจหน้าที่แตกต่างกันไปในช่วงก่อน ยุคเมจิ ของประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น แต่โดยทั่วไปยังคงเป็นตำแหน่งที่สำคัญภายใต้ ประมวลกฎหมายไทโฮ[1]

ประวัติ[แก้]

ก่อนยุคเมจิ[แก้]

ตำแหน่งไนไดจิงเกิดขึ้นก่อน ประมวลกฎหมายไทโฮ ฉบับ ค.ศ. 701 ฟุจิวะระ โนะ คะมะตะริ เป็นคนแรกที่ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งใน ค.ศ. 669 หลังจากการแต่งตั้ง ฟุจิวะระ โนะ มิชิตะกะ ในปี ค.ศ. 989 ตำแหน่งก็กลายเป็นที่ยอมรับอย่างถาวร แต่ก็ยังอยู่ต่ำกว่า อูไดจิง ("มหาเสนาบดีขวา") และ ซาไดจิง ("มหาเสนาบดีซ้าย")

ยุคเมจิและหลังจากนั้น[แก้]

ตำแหน่งถูกพัฒนาในสมัยเมจิ ในปี ค.ศ. 1885 ได้รับการตั้งชื่อใหม่เพื่อหมายถึง ผู้รักษาพระราชลัญจกรของญี่ปุ่น ในราชสำนัก[2] ในปีนั้นตำแหน่งนายกรัฐมนตรีหรือหัวหน้าคณะรัฐมนตรีของรัฐบาลคือ ไดโจไดจิง ได้รับการฟื้นฟู ในเดือนธันวาคม ซันโจ ซาเนโทมิ ได้ถวายฎีกาต่อจักรพรรดิเพื่อยุบเลิกตำแหน่งของเขา และจากนั้นเขาก็ได้รับการแต่งตั้งให้เป็น ไนไดจิง หรือผู้รักษาพระราชลัญจกรในทันที[3]

ตำแหน่งของผู้รักษาพระราชลัญจกรนั้นเหมือนกับ ไนไดจิงในแง่ของชื่อเท่านั้นไม่ใช่ในแง่ของการใช้งานหรืออำนาจ[4]

ลักษณะของตำแหน่งพัฒนาต่อไปใน ยุคไทโช และ ยุคโชวะ ตำแหน่งนี้ถูกยกเลิกเมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน ค.ศ. 1945[5]

ดูเพิ่ม[แก้]

บันทึก[แก้]

  1. Titsingh, Isaac. (1834). Annales des empereurs du japon, p. 425.
  2. Dus, Peter. (1988). The Cambridge History of Japan: The Twentieth Century, pp. 59, 81.
  3. Ozaki, p. 86.
  4. Unterstein (in German): Ranks in Ancient and Meiji Japan (in English and French), pp. 6, 27.
  5. Glossary | Birth of the Constitution of Japan

อ้างอิง[แก้]

  • (ญี่ปุ่น) Asai, T. (1985). Nyokan Tūkai. Tokyo: Kōdansha.
  • Dickenson, Walter G. (1869). Japan: Being a Sketch of the History, Government and Officers of the Empire. London: W. Blackwood and Sons. OCLC 10716445
  • Ozaki, Yukio. (2001). The Autobiography of Ozaki Yukio: The Struggle for Constitutional Government in Japan. [Translated by Fujiko Hara]. Princeton: Princeton University Press. ISBN 0-691-05095-3 (cloth)
  • (ญี่ปุ่น) Ozaki, Yukio. (1955). Ozak Gakudō Zenshū. Tokyo: Kōronsha.
  • Sansom, George (1958). A History of Japan to 1334. Stanford: Stanford University Press. ISBN 978-0-8047-0523-3
  • Dus, Peter. (1988). The Cambridge History of Japan: the Twentieth Century, Vol. 6. Cambridge: Cambridge University Press. ISBN 0-521-22357-1
  • Ozaki, Yukio. (2001). The Autobiography of Ozaki Yukio: The Struggle for Constitutional Government in Japan. [Translated by Fujiko Hara]. Princeton: Princeton University Press. ISBN 0-691-05095-3 (cloth)
  • Screech, Timon. (2006). Secret Memoirs of the Shoguns: Isaac Titsingh and Japan, 1779-1822. London: Routledge Curzon. ISBN 0-7007-1720-X
  • (ฝรั่งเศส) Titsingh, Isaac. (1834). [Siyun-sai Rin-siyo/Hayashi Gahō, 1652], Nipon o daï itsi ran; ou, Annales des empereurs du Japon. Paris: Oriental Translation Fund of Great Britain and Ireland.
  • Varley, H. Paul, ed. (1980). [ Kitabatake Chikafusa, 1359], Jinnō Shōtōki ("A Chronicle of Gods and Sovereigns: Jinnō Shōtōki of Kitabatake Chikafusa" translated by H. Paul Varley). New York: Columbia University Press. ISBN 0-231-04940-4