เอตา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ประเทศบาสก์และเสรีภาพ
มีส่วนร่วมในBasque conflict
Euskadi Ta Askatasuna's symbol
ปฏิบัติการ31 กรกฎาคม พ.ศ. 2502 – 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
  • 5 กันยายน พ.ศ. 2553 (การหยุดยิงที่ยังมีอยู่)
  • 8 เมษายน พ.ศ. 2560 (วางอาวุธ)
  • 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 (สลายตัว)
แนวคิดชาตินิยมบาสก์
Revolutionary socialism
European federalism[1][2]
ผู้นำJosu Urrutikoetxea
David Pla
Iratxe Sorzabal
Izaskun Lesaka
Mikel Irastorza
กองบัญชาการGreater Basque Country
พื้นที่ปฏิบัติการPrincipally Spain
France (largely as operative base and safe haven)
พันธมิตร
ปรปักษ์ สเปน
 ฝรั่งเศส
ตราสัญลักษณ์ของเอตา

เอตา (บาสก์: ETA) หรือ ประเทศบาสก์และเสรีภาพ (บาสก์: Euskadi Ta Askatasuna) หรือที่สื่อไทยบางแห่งเรียก กบฏแบ่งแยกดินแดนแคว้นบาสก์[5] เป็นองค์กรชาตินิยมและแบ่งแยกดินแดนติดอาวุธชาวบาสก์ กลุ่มนี้ก่อตั้งขึ้นใน พ.ศ. 2502 และได้วิวัฒนาจากกลุ่มที่สนับสนุนวัฒนธรรมบาสก์ดั้งเดิมไปเป็นกลุ่มกึ่งทหารโดยมีจุดประสงค์เพื่อบรรลุเอกราชแก่มหาประเทศบาสก์ (Greater Basque Country) [6][7] ซึ่งครอบคลุมตอนเหนือบางส่วนของประเทศสเปนและตอนใต้บางส่วนของประเทศฝรั่งเศส เอตาเป็นองค์การหลักของขบวนการปลดปล่อยแห่งชาติบาสก์ และเป็นตัวการสำคัญในความขัดแย้งบาสก์ เอตาประกาศหยุดยิงใน พ.ศ. 2532, 2539, 2541 และ 2549 แต่ละเมิดในภายหลัง อย่างไรก็ดี วันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 เอตาประกาศหยุดยิงรอบใหม่[8] ซึ่งยังมีผลใช้บังคับ ยิ่งไปกว่านั้น วันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2554 เอตาประกาศ "การยุติขั้นสุดท้ายของกิจกรรมติดอาวุธของตน"[9]

นับตั้งแต่ พ.ศ. 2502 เอตาถูกประณามว่าสังหารประชาชนไป 829 คน ทำให้มีผู้ได้รับบาดเจ็บหลายพันคน และลักพาตัวคนไปหลายสิบคน[10][11][12][13] กลุ่มดังกล่าวถูกต้องห้ามเป็นองค์การก่อการร้ายโดยทางการหลายประเทศ มีสมาชิกองค์การมากกว่า 700 คนถูกจำคุกอยู่ในสเปน ฝรั่งเศส และประเทศอื่น[14]

อ้างอิง[แก้]

  1. Azcona Pastor, José Manuel (2011). "El nacionalismo vasco y la deriva terrorista de ETA.". ใน Azcona Pastor, José Manuel (บ.ก.). Sociedad del bienestar, vanguardias artísticas, terrorismo y contracultura. Madrid: Dykinson. pp. 220–221.
  2. ETA (1962). Libro Blanco. pp. 89–90.
  3. Lionel Henry; Annick Lagadec (2006). FLB-ARB: L'Histoire (1966–2005). Foesnant: Yoran Embanner. p. 136.
  4. FLB/ARB Délegation exterieur, Euskadi ta Askatasuna, Irish Republican Publicity Bureau (1972). "Communiqué". Documentos Y Vol. 12. p. 386.{{cite book}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  5. "รบ.สเปนเมินข้อเสนอหยุดยิงกบฏอีทีเอ". ไทยรัฐ. September 6, 2010. สืบค้นเมื่อ October 22, 2011.
  6. Goiz Argi เก็บถาวร 2019-01-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Goiz Argi. Retrieved on 30 January 2011. (สเปน)
  7. Goiz Argi เก็บถาวร 2016-03-03 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Goiz Argi (27 January 2002). Retrieved on 2011-01-30. (สเปน)
  8. "Basque separatist group เอตา'declares ceasefire'". BBC News. 5 September 2010. สืบค้นเมื่อ 5 September 2010.
  9. "Basque group เอตาsays armed campaign is over". BBC News. 20 October 2011. สืบค้นเมื่อ 20 October 2011.
  10. "Lista de víctimas mortales". Ministerio del Interior (ภาษาสเปน). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-09-15. สืบค้นเมื่อ 19 September 2010.
  11. "Datos significativos del conflicto vasco, 1968–2003". Eusko News (ภาษาสเปน). 2003. สืบค้นเมื่อ 19 January 2011.
  12. เอตาhas killed 829 people as of 19 January 2011 เก็บถาวร 2010-09-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Spanish Ministerio del Interior
  13. Peace at Last? | People & Places | Smithsonian Magazine เก็บถาวร 2013-04-19 ที่ Archive-It. Smithsonianmag.com. Retrieved on 30 January 2011.
  14. La cifra de presos de เอตาes la más alta de la última década con 728 encarcelados El Confidencial, 7 January 2008 (สเปน)

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

  • วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ ETA