อำเภอเมืองสงขลา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อำเภอเมืองสงขลา
การถอดเสียงอักษรโรมัน
 • อักษรโรมันAmphoe Mueang Songkhla
ตึกแถวทรงซิโน-โปรตุกีส บริเวณถนนนครนอก ตำบลบ่อยาง ระบุปีก่อสร้าง พ.ศ. 2474
ตึกแถวทรงซิโน-โปรตุกีส บริเวณถนนนครนอก ตำบลบ่อยาง ระบุปีก่อสร้าง พ.ศ. 2474
คำขวัญ: 
เมืองใหญ่ตระการตา งามสง่าสะพานติณ ทักษิณคดีสถาน ตำนานรัฐบุรุษ สูงสุดเขาตังกวน เสน่ห์ล้วนผ้าเกาะยอ
แผนที่จังหวัดสงขลา เน้นอำเภอเมืองสงขลา
แผนที่จังหวัดสงขลา เน้นอำเภอเมืองสงขลา
พิกัด: 7°12′25″N 100°35′47″E / 7.20694°N 100.59639°E / 7.20694; 100.59639
ประเทศ ไทย
จังหวัดสงขลา
พื้นที่
 • ทั้งหมด171.9 ตร.กม. (66.4 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2564)
 • ทั้งหมด162,894 คน
 • ความหนาแน่น947.61 คน/ตร.กม. (2,454.3 คน/ตร.ไมล์)
รหัสไปรษณีย์ 90000
รหัสภูมิศาสตร์9001
ที่ตั้งที่ว่าการที่ว่าการอำเภอเมืองสงขลา ถนนราชดำเนิน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา 90000
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

เมืองสงขลา เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสงขลา เป็นอำเภอศูนย์กลางการบริหารราชการของจังหวัด แต่เดิมมีพื้นที่ใหญ่และพอความเจริญเข้าพื้นที่จึงได้มีการจัดตั้งกิ่งอำเภอและยกฐานะขึ้นเป็น อำเภอสิงหนคร เมื่อปี พ.ศ. 2534

ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]

อำเภอเมืองสงขลามีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียงดังต่อไปนี้

การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]

การปกครองส่วนภูมิภาค[แก้]

อำเภอเมืองสงขลาแบ่งพื้นที่การปกครองออกเป็น 6 ตำบล 46 หมู่บ้าน

ที่ ชื่อตำบล ชื่ออักษรโรมัน จำนวนหมู่บ้าน
1. บ่อยาง Bo Yang ยกเลิกระบบหมู่
2. เขารูปช้าง Khao Rup Chang 10 หมู่บ้าน
3. เกาะแต้ว Ko Taeo 9 หมู่บ้าน
4. พะวง Phawong 8 หมู่บ้าน
5. ทุ่งหวัง Thung Wang 10 หมู่บ้าน
6. เกาะยอ Ko Yo 9 หมู่บ้าน

การปกครองส่วนท้องถิ่น[แก้]

ท้องที่อำเภอเมืองสงขลาประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 6 แห่ง ได้แก่

  • เทศบาลนครสงขลา ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบ่อยางทั้งตำบล
  • เทศบาลเมืองเขารูปช้าง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลเขารูปช้างทั้งตำบล
  • เทศบาลตำบลพะวง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลพะวงทั้งตำบล
  • เทศบาลตำบลเกาะแต้ว ครอบคลุมพื้นที่ตำบลเกาะแต้วทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งหวัง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลทุ่งหวังทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะยอ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลเกาะยอทั้งตำบล

แหล่งท่องเที่ยว[แก้]

สถาบันการศึกษา[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]