สาคละ

พิกัด: 32°30′19″N 74°32′03″E / 32.50528°N 74.53417°E / 32.50528; 74.53417
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สาคละตั้งอยู่ในประเทศปากีสถาน
สาคละ
สาคละ
ที่ตั้งของสาคละในแคว้นปัญจาบ ประเทศปากีสถาน

นครสาคละ เมืองสาคละ หรือ สาคล (สันสกฤต: साकला) เคยเป็นนครหนึ่งของอินเดียโบราณ[1][2] ซึ่งในปัจจุบันคือเมืองซิอัลโกต ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของประเทศปากีสถาน ในแคว้นปัญจาบ[3][4][5][6] นครนี้เคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรมาทระและถูกทำลายในช่วงการทัพในอินเดียของอเล็กซานเดอร์มหาราชใน 326 ปีก่อน ค.ศ.[7] ในศตวรรษที่ 2 ก่อน ค.ศ. พระเจ้ามิลินท์สถาปนาให้สาคละกลายเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรอินโด-กรีก พระองค์เข้ารับศาสนาพุทธหลังโต้วาทีกับพระภิกษุสงฆ์อย่างกว้างขวาง ดังที่บันทึกไว้ใน มิลินทปัญหา[8] ในรัชสมัยของพระองค์ สาคละกลายเป็นศูนย์กลางที่สำคัญของศาสนาพุทธ และเจริญรุ่งเรืองในฐานะศูนย์กลางการค้าที่สำคัญ[9][10]

อ้างอิง[แก้]

  1. Rapson, Edward James (1960). Ancient India: From the Earliest Times to the First Century A. D. (ภาษาอังกฤษ). Susil Gupta. p. 88. Sakala, the modern Sialkot in the Lahore Division of the Punjab, was the capital of the Madras who are known in the later Vedic period (Brihadaranyaka Upanishad).
  2. Kumar, Rakesh (2000). Ancient India and World (ภาษาอังกฤษ). Classical Publishing Company. p. 68.
  3. McEvilley, Thomas (2012). The Shape of Ancient Thought: Comparative Studies in Greek and Indian Philosophies. Skyhorse Publishing. ISBN 9781581159332. สืบค้นเมื่อ 2 June 2017.
  4. Cohen, Getzel M. (2013-06-02). The Hellenistic Settlements in the East from Armenia and Mesopotamia to Bactria and India (ภาษาอังกฤษ). University of California Press. ISBN 9780520953567.
  5. Kim, Hyun Jin; Vervaet, Frederik Juliaan; Adali, Selim Ferruh (2017-10-05). Eurasian Empires in Antiquity and the Early Middle Ages: Contact and Exchange between the Graeco-Roman World, Inner Asia and China (ภาษาอังกฤษ). Cambridge University Press. ISBN 9781107190412.
  6. Congress, Indian History (2007). Proceedings, Indian History Congress (ภาษาอังกฤษ).
  7. Prasad, Prakash Charan (1977). Foreign Trade and Commerce in Ancient India (ภาษาอังกฤษ). Abhinav Publications. ISBN 9788170170532.
  8. McEvilley, Thomas (2012). The Shape of Ancient Thought: Comparative Studies in Greek and Indian Philosophies. Skyhorse Publishing. ISBN 9781581159332. สืบค้นเมื่อ 2 June 2017.
  9. Srivastava, Balram (1968). Trade and commerce in ancient India, from the earliest times to c. A.D. 300 (ภาษาอังกฤษ). Chowkhamba Sanskrit Series Office. p. 67.
  10. Khan, Ahmad Nabi (1977). Iqbal Manzil, Sialkot: An Introduction. Department of Archaeology & Museums, Government of Pakistan. สืบค้นเมื่อ 3 June 2017.

32°30′19″N 74°32′03″E / 32.50528°N 74.53417°E / 32.50528; 74.53417