สวัสติกะ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ซ้าย: สวัสติกะของศาสนาพุทธนิกายมหายาน ขวา: สวัสติกะของศาสนาฮินดู, ศาสนาเชน และ ศาสนาพุทธแบบศรีลังกา[1][2]

สวัสติกะ (ภาษาอังกฤษ: Swastika; สันสกฤต स्वस्तिक svastika) เป็นเครื่องหมายกากบาทที่ตรงส่วนปลายทำมุมฉาก โดยมีทั้งลักษณะที่ทิศทางด้านซ้าย () หรือด้านขวา () เครื่องหมายสวัสติกะ มีการใช้เป็นสัญลักษณ์ใน ศาสนาฮินดู, ศาสนาเชน และ พระพุทธศาสนา ในประเทศตะวันตกรู้จักกันมากในสัญลักษณ์ของฝ่ายนาซี โดยสวัสติกะของนาซีจะเอียงทำมุม 45 องศากับแนวระนาบ

สวัสติกะของฮินดูจะมีจุด ประดับที่มุมต่างๆ ของสัญลักษณ์

สัญลักษณ์สวัสติกะของฝ่ายนาซี และฮินดู จะมีลักษณะทิศทางหมุนทวนเข็มนาฬิกา ของพระยูไลหมุนตามเข็มนาฬิกา ()หากสังเกตดูจะพบว่าเป็นรูปอักษรโรมันตัว S 2 ตัวซ้อนกัน ซึ่งย่อมาจากคำในภาษาเยอรมัน โดย S ตัวหนึ่งมาจากคำว่า "Stadt" แปลว่า บ้านเมือง และอีกตัวหนึ่งมาจากคำว่า "Sicherheit" แปลว่า ปลอดภัย

สวัสติกะรูปแบบต่างๆ[แก้]

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. Powers, John (2007). Introduction to Tibetan Buddhism. Shambhala Press. p. 509. ISBN 978-1-55939-835-0 – โดยทาง Google Books.
  2. Chessa, Luciano (2012). Luigi Russolo, Futurist: Noise, Visual Arts, and the Occult. University of California Press. p. 34. ISBN 978-0-520-95156-3 – โดยทาง Google Books.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]