สงครามชิลลา-ถัง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สงครามชิลลา-ถัง

แผนที่สงครามชิลลา-ถัง (ในภาษาเกาหลี) เส้นสีเขียวเข้มคือชายแดนทางตอนเหนือของซิลลา ลูกศรสีแดงคือเส้นทางเดินทัพของราชวงศ์ถัง; เส้นสีน้ำเงินคือเส้นทางเดินทัพของอาณาจักรซิลลา; รูประเบิดคือบริเวณที่เกิดสงคราม
วันที่ค.ศ. 668–676 [1]
สถานที่
ผล ฝ่ายซิลลาชนะ[2][3]
ดินแดน
เปลี่ยนแปลง
กองทัพชิลลาสามารถยึดครองดินแดนทางตอนใต้ของแม่น้ำแทดง ส่วนกองทัพถังสามารถยึดครองดินแดนทางตอนเหนือของแม่น้ำแทดง[4]
คู่สงคราม
อาณาจักรรวมชิลลา
อาณาจักรโคกูรยอ (รัฐบริวารของซิลลา)
อาณาจักรแพ็กเจ (รัฐบริวารของซิลลา)
จีนสมัยราชวงศ์ถัง
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
พระเจ้ามุนมู
คิม ยูชิน
Geom Mojam
Kim Wonsul
โค ย็อนมู
ซิยิ่นกุ้ย
Gao Kan
Buyeo Yung
Li Jinxing

สงครามชิลลา-ถัง (ค.ศ. 668–676) เกิดขึ้นระหว่างอาณาจักรซิลลาที่มีกองทัพที่มาจากอาณาจักรโคกูรยอกับอาณาจักรแพ็กเจ (ส่วนใหญ่เรียกเป็นอาณาจักรรวมชิลลา) กับจีนสมัยราชวงศ์ถัง[1] ซึ่งตามมาด้วยการพิชิตสงครามโคกูรยอกับแพ็กเจของซิลลากับถัง เนื่องจากสถานการณ์ทางการเมืองภายในสองรัฐ ทำให้ข้อขัดแย้งนี้สิ้นสุดลงด้วยสัญญาสงบศึกระหว่างถังกับซิลลา[2] โดยการแบ่งดินแดนผ่านแม่น้ำแทดง

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 Shin, Hyong Sik (2006). A Brief History of Korea (Translated ed.). Seoul: Ewha Womans University Press. p. 51. ISBN 9788973006199. Tang's territorial ambitions led Silla to wage a war against the Chinese dynasty from 668 to 676. Eventually, Silla joined with remnant forces of Baekje and Goguryeo to drive Tang out of the Korean Peninsula and unified the Three Kingdoms.
  2. 2.0 2.1 Shin, Hyong Sik (2006). A Brief History of Korea (Translated ed.). Seoul: Ewha Womans University Press. p. 51. ISBN 9788973006199. [...] Silla engaged in an all-out war against Tang at one point. But, a truce was declared due to the political situation in both countries at that time.
  3. Peterson, Mark (2010). A Brief History of Korea. Facts On File. p. 34. ISBN 978-0-8160-5085-7. The fighting between the Tang and Silla ended fairly quickly, however, in favor of a diplomatic settlement in 676.
  4. Fuqua, Jacques L. (2007). Nuclear endgame: The need for engagement with North Korea. Westport: Praeger Security International. p. 40. ISBN 9780275990749.