วานปรัสถ์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

วานปรัสถ์ (สันสกฤต: वनप्रस्थ) แปลตรงตัวว่า "การละทิ้งชีวิตทางโลก" เป็นขั้นตอนที่สามของชีวิตตามระบบอาศรมสี่ ต่อเนื่องจากคฤหัสถ์ และตามด้วยสัญญาสี[1] กระบวนการในขั้นวานปรัสถ์ประกอบด้วยการละทิ้งชีวิตทางโลกโดยส่งต่อภาระครอบครัวและการงานให้แก่รุ่นถัดไป และค่อย ๆ ถอยห่างจากชีวิตทางโลก[2][3] บางตำราอาจเชื่อว่าชีวิตสามารถข้ามขั้นคฤหัสถ์ได้ โดยข้ามมายังขั้นวานปรัสถ์เลย[4][5]

วานปรัสถ์ถือเป็นขั้นตอนของการเปลี่ยนจากการมุ่งเน้นอารฐะ (Artha) และกามะ มายังการมุ่งเน้นโมกษะ[3][6]

อ้างอิง[แก้]

  1. RK Sharma (1999), Indian Society, Institutions and Change, ISBN 978-8171566655, pages 28, 38-39
  2. Ralph Tench and William Sun (2014), Communicating Corporate Social Responsibility: Perspectives and Practice, ISBN 978-1783507955, page 346
  3. 3.0 3.1 Albertina Nugteren (2005), Belief, Bounty, And Beauty: Rituals Around Sacred Trees in India, Brill Academic, ISBN 978-9004146013, pages 13-21
  4. Sahebrao Genu Nigal (1986). Axiological approach to the Vedas. Northern Book Centre. p. 112. ISBN 81-85119-18-X.
  5. Manilal Bose (1998). "5. Grihastha Ashrama, Vanprastha and Sanyasa". Social and cultural history of ancient India. Concept Publishing Company. p. 68. ISBN 81-7022-598-1.
  6. Saraswathi et al (2010), Reconceptualizing Lifespan Development through a Hindu Perspective, in Bridging Cultural and Developmental Approaches to Psychology (Editor: Lene Arnett Jensen), Oxford University Press, ISBN 978-0195383430, page 280-286