ลูอีเซอแห่งเมคเลินบวร์ค-ชเตรลิทซ์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ลูอีเซอแห่งเมคเลินบวร์ค-ชเตรลิทซ์
สมเด็จพระราชินีแห่งปรัสเซีย
พระชายาเจ้าผู้คัดเลือกแห่งบรันเดินบวร์ค
ดำรงพระยศ16 พฤศจิกายน 1797 – 19 กรกฎาคม 1810
พระราชสมภพ10 มีนาคม ค.ศ. 1776(1776-03-10)
ฮันโนเฟอร์, รัฐเบราน์ชไวค์-ลือเนอบวร์ค, จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
สวรรคต19 กรกฎาคม ค.ศ. 1810(1810-07-19) (34 ปี)
ปราสาทโฮเอินซีริทซ์, ราชอาณาจักรปรัสเซีย
คู่อภิเษกพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮ็ล์มที่ 3
พระราชบุตรพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮ็ล์มที่ 4
จักรพรรดิวิลเฮ็ล์มที่ 1
ชาร์ลอต จักรพรรดินีรัสเซีย
เจ้าหญิงฟรีเดอรีเคอ
เจ้าชายคาร์ลแห่งปรัสเซีย
Alexandrine, Grand Duchess of Mecklenburg-Schwerin
Prince Ferdinand
Princess Louise
Prince Albert
พระนามเต็ม
ลูอีเซอ เอากุสเทอ วิลเฮ็ลมีเนอ อมาลี
ราชวงศ์มัคเลินบวร์ค-ชเตรลิทซ์
พระราชบิดาคาร์ลที่ 2 แกรนด์ดยุกแห่งมัคเลินบวร์ค-ชเตรลิทซ์
พระราชมารดาเจ้าหญิงฟรีเดอรีเคอแห่งเฮ็สเซิน-ดาร์มชตัท
ศาสนาลูเทอแรน
ลายพระอภิไธย

ลูอีเซอแห่งเมคเลินบวร์ค-ชเตรลิทซ์ (เยอรมัน: Luise von Mecklenburg-Strelitz) ทรงเป็นพระราชีนีปรัสเซียโดยตำแหน่งพระอัครมเหสีของพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮ็ล์มที่ 3 และทรงเป็นพระราชมารดาในพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮ็ล์มที่ 4 แห่งปรัสเซีย และจักรพรรดิวิลเฮ็ล์มที่ 1 แห่งเยอรมนี พระนางได้รับการนับถือในเรื่องของความรักชาติอย่างมาก พระนางยังถูกพวกนาซียกให้เป็นสตรีในอุดมคติซึ่งเป็นต้นแบบของผู้หญิงชาวเยอรมันที่ควรเอาแบบอย่าง

ในสงครามนโปเลียน ปรัสเซียกำลังเพลี่ยงพล้ำต่อฝรั่งเศส กรุงเบอร์ลินถูกยึดทำให้ราชวงศ์ปรัสเซียต้องลี้ภัย พระนางลูอีเซอเดินทางไปพบกับนโปเลียนในทิลซิท เพื่อขอความเมตตาต่อปรัสเซีย นโปเลียนได้บรรยายถึงพระนางลูอีเซอไว้ว่านาง "มีความอบอุ่นและยั่วยวนฉันอย่างมาก..." ความกล้าหาญและทุ่มเทเพื่อชาติของพระนาง ทำให้พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮ็ล์มที่ 3 ทรงสถาปนาเครื่องราชอิสรยาภรณ์ลูอีเซอแก่พระนางใน ค.ศ. 1814 ซึ่งถือเป็นกางเขนเหล็กแบบแรก

อ้างอิง[แก้]

  • Blackburn, Gilmer W. (1985). Education in the Third Reich: a study of race and history in Nazi textbooks. Albany: State University of New York Press.
  • Chisholm, Hugh (ed.) (1911a). "Louise of Prussia". Encyclopædia Britannica. Cambridge University Press (Eleventh ed.). {{cite journal}}: |access-date= ต้องการ |url= (help); |first= มีชื่อเรียกทั่วไป (help)
  • Chisholm, Hugh (ed.) (1911b). "Frederick William III, king of Prussia". Encyclopædia Britannica. Cambridge University Press (Eleventh ed.). {{cite journal}}: |access-date= ต้องการ |url= (help); |first= มีชื่อเรียกทั่วไป (help)
  • Günter de Bruyn: Preußens Luise. Vom Entstehen und Vergehen einer Legende. Siedler, Berlin 2001, ISBN 3-88680-718-5 (with bibliography and index of illustrations)
  • Clark, Christopher (2006). Iron Kingdom: The Rise and Downfall of Prussia, 1600–1947. Cambridge, Massachusetts, USA: Belknam Press of Harvard University Press.
  • Fischer, Conan (1996). The Rise of National Socialism and the Working Classes in Weimar. Berghahn Books.
  • Fisher, Todd; Gregory Fremont-Barnes; Bernhard Cornwell (2004). The Napoleonic Wars: The Rise and Fall of an Empire. Oxford, UK: Osprey Publishing.
  • Herold, J. Christopher (2002) [1963]. The Age of Napoleon. New York: Mariner Books.
  • Hudson, Elizabeth Harriot (2005a [1874]). The Life and Times of Louisa, Queen of Prussia, Volume 1. London: Adamant Media Corporation [W. Isbister & Co]. {{cite book}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |year= (help)