มีเทน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
มีเทน
Stereo, skeletal formula of methane with some measurements added
Ball and stick model of methane
Ball and stick model of methane
Spacefill model of methane
Spacefill model of methane
ชื่อ
Preferred IUPAC name
Methane[1]
Systematic IUPAC name
Carbane (never recommended[1])
ชื่ออื่น
  • Carbon tetrahydride
  • Carburetted hydrogen
  • Hydrogen carbide
  • Marsh gas
  • Methyl hydride
  • Natural gas
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
3DMet
1718732
ChEBI
ChEMBL
เคมสไปเดอร์
ECHA InfoCard 100.000.739 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
EC Number
  • 200-812-7
59
KEGG
MeSH Methane
RTECS number
  • PA1490000
UNII
UN number 1971
  • InChI=1S/CH4/h1H4 checkY
    Key: VNWKTOKETHGBQD-UHFFFAOYSA-N checkY
  • C
คุณสมบัติ
CH4
มวลโมเลกุล 16.043 g·mol−1
ลักษณะทางกายภาพ แก๊สไม่มีสี
กลิ่น ไม่มีกลิ่น
ความหนาแน่น
  • 0.657 kg/m3 (แก๊ส, 25 °C, 1 atm)
  • 0.717 kg/m3 (แก๊ส, 0 °C, 1 atm)[2]
  • 422.8 g/L (ของเหลว, −162 °C)[3]
จุดหลอมเหลว −182.456 องศาเซลเซียส (−296.421 องศาฟาเรนไฮต์; 90.694 เคลวิน)[3]
จุดเดือด −161.5 องศาเซลเซียส (−258.7 องศาฟาเรนไฮต์; 111.6 เคลวิน)[3]
จุดวิกฤติ (T, P) 190.56 K (−82.59 °C; −116.66 °F), 4.5992 MPa (45.391 atm)
22.7 mg/L[4]
ความสามารถละลายได้ ละลายได้ในเอทานอล, อีเทอร์, เบนซีน, โทลูอีน, เมทานอล, แอซีโทน และไม่ละลายในน้ำ
log P 1.09
14 nmol/(Pa·kg)
กรด Methanium
เบส Methyl anion
−17.4×10−6 cm3/mol[5]
โครงสร้าง
Td
Tetrahedral at carbon atom
0 D
อุณหเคมี[6]
35.7 J/(K·mol)
Std molar
entropy
(S298)
186.3 J/(K·mol)
−74.6 kJ/mol
−50.5 kJ/mol
−891 kJ/mol
ความอันตราย[7]
GHS labelling:
The flame pictogram in the Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals (GHS)
อันตราย
H220
P210
NFPA 704 (fire diamond)
จุดวาบไฟ −188 องศาเซลเซียส (−306.4 องศาฟาเรนไฮต์; 85.1 เคลวิน)
537 องศาเซลเซียส (999 องศาฟาเรนไฮต์; 810 เคลวิน)
ขีดจำกัดการระเบิด 4.4–17%
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
แอลเคนที่เกี่ยวข้อง
สารประกอบที่เกี่ยวข้อง
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

มีเทน (Methane) หรือ คาร์บอนเททราไฮไดรด์ (Carbon Tetrahydride) เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนพวกแอลเคน สูตรเคมี คือ CH4 เป็นแก๊สไม่มีสี ติดไฟได้ เป็นองค์ประกอบส่วนใหญ่ของแก๊สธรรมชาติ แก๊สมีเทนอาจได้มาจากการหมักมูลสัตว์และนำมาใช้เป็นเชื้อเพลิงราคาถูก

แก๊สมีเทนอาจพบได้ในชั้นถ่านหิน (Coal Bed Methane) โดยจากกระบวนการเกิดถ่านหินทำให้ก๊าซสะสมตัวและกักเก็บอยู่ในช่องว่างในเนื้อถ่านหิน [9]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 "Front Matter". Nomenclature of Organic Chemistry : IUPAC Recommendations and Preferred Names 2013 (Blue Book). Cambridge: The Royal Society of Chemistry. 2014. pp. 3–4. doi:10.1039/9781849733069-FP001. ISBN 978-0-85404-182-4. Methane is a retained name (see P-12.3) that is preferred to the systematic name ‘carbane’, a name never recommended to replace methane, but used to derive the names ‘carbene’ and ‘carbyne’ for the radicals H2C2• and HC3•, respectively.
  2. "Gas Encyclopedia". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ December 26, 2018. สืบค้นเมื่อ November 7, 2013.
  3. 3.0 3.1 3.2 Haynes, p. 3.344
  4. Haynes, p. 5.156
  5. Haynes, p. 3.578
  6. Haynes, pp. 5.26, 5.67
  7. "Safety Datasheet, Material Name: Methane" (PDF). US: Metheson Tri-Gas Incorporated. December 4, 2009. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ June 4, 2012. สืบค้นเมื่อ December 4, 2011.
  8. NOAA Office of Response and Restoration, US GOV. "METHANE". noaa.gov. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 9, 2019. สืบค้นเมื่อ March 20, 2015.
  9. "แก๊สมีเทนในชั้นถ่านหิน (Coal Bed Methane)". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-10-07. สืบค้นเมื่อ 2007-10-07.

แหล่งอ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]