ภาษาโฮ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ภาษาโฮ
𑢹𑣉𑣉 𑣎𑣋𑣜, हो जागार, ହୋ ଜାଗାର, হো জাগার
ออกเสียง/hoː ʤɐgɐr/
ประเทศที่มีการพูดประเทศอินเดีย
ชาติพันธุ์ชาวโฮ
จำนวนผู้พูด2.2 ล้านคน  (2011 census)[1]
ตระกูลภาษา
ออสโตรเอเชียติก
ระบบการเขียนทางการ: อักษรวรังจิติ รอง: อักษรเทวนาครี, อักษรละติน, อักษรโอริยา, อักษรเตลูกู[2]
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการ อินเดีย
รหัสภาษา
ISO 639-3hoc
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทอักษรสากล หากระบบของคุณไม่รองรับการแสดงผลที่ถูกต้อง คุณอาจเห็นปรัศนี กล่อง หรือสัญลักษณ์อย่างอื่นแทนที่อักขระยูนิโคด

ภาษาโฮ (โฮ: Ho, สัทอักษรสากล: [/hoː ʤɐgɐr/], อักษรวรังจิติ: 𑢹𑣉𑣉 𑣎𑣋𑣜) เป็นภาษากลุ่มมุนดาในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติกที่มีผู้พูดในประเทศอินเดียประมาณ 2.2 ล้านคน (0.202% ของประชากรทั้งหมด) ตามสำมะโน ค.ศ. 2001 ภาษาโฮเป็นภาษาชนเผ่า[3] พูดโดยชุมชนเผ่าโฮ, มุุนดา, Kolha และ Kol ในรัฐโอฑิศา[4] รัฐฌารขัณฑ์ รัฐพิหาร รัฐฉัตตีสครห์ รัฐเบงกอลตะวันตก รัฐอัสสัม และเขียนด้วยอักษรวรังจิติ บางครั้งก็ใช้อักษรเทวนาครี อักษรละติน อักษรโอริยา และอักษรเตลูกู[5] แม้ว่าผู้พูดภาษาแม่นิยมใช้อักษรโฮของตนเองมากกว่า[6]

คำว่า "โฮ" มาจากศัพท์ภาษาแม่ว่า "𑣙𑣉𑣉" ซึ่งหมายถึง "มนุษย์"[7]

ดูเพิ่ม[แก้]

  1. "Statement 1: Abstract of speakers' strength of languages and mother tongues – 2011". www.censusindia.gov.in. Office of the Registrar General & Census Commissioner, India. สืบค้นเมื่อ 7 July 2018.
  2. "Scripts of Ho". Scriptsource.org. สืบค้นเมื่อ 2021-08-26.
  3. "High hopes for Ho | Bhubaneswar News - Times of India". The Times of India. สืบค้นเมื่อ 16 December 2019.
  4. "Tribals seek official tag for Ho language - OrissaPOST". 27 October 2018. สืบค้นเมื่อ 16 December 2019.
  5. "The Warang Chiti Alphabet". Swarthmore.edu. สืบค้นเมื่อ 19 March 2015.
  6. K David Harrison; Gregory Anderson. "Review of Proposal for Encoding Warang Chiti (Hoorthography) in Unicode" (PDF). สืบค้นเมื่อ 19 March 2015.
  7. "Ho Web Sketch: Ho writing" (PDF). Livingtongues.org. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 17 March 2016. สืบค้นเมื่อ 19 March 2015.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]