ภาษากัศมีร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ภาษากัศมีร์
کٲشُر, कॉशुर, 𑆑𑆳𑆯𑆶𑆫𑇀
ศัพท์ "เกอศูร์" ใน อักษรเปอร์เซีย-อาหรับ (ปัจจุบัน, สถานะทางการ), อักษรศารทา (อดีต, ทางศาสนา) และอักษรเทวนาครี (ปัจจุบัน)
ประเทศที่มีการพูดอินเดียและปากีสถาน
ภูมิภาคกัศมีร์ (Kashmir division และบางส่วนของหุบเขา Chenab, ชัมมูและกัศมีร์,[1] ทางเหนือของอาซัดกัศมีร์)
ชาติพันธุ์ชาวกัศมีร์
จำนวนผู้พูด7 ล้านคน  (2011 census)[2]
ตระกูลภาษา
ภาษาถิ่น
ระบบการเขียนอักษรเปอร์เซีย-อาหรับ (ปัจจุบัน, สถานะทางการ),[3]
อักษรเทวนาครี (ปัจจุบัน),[3]
อักษรศารทา (อดีต/ทางศาสนา)[3]
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการ อินเดีย
รหัสภาษา
ISO 639-1ks
ISO 639-2kas
ISO 639-3kas
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทอักษรสากล หากระบบของคุณไม่รองรับการแสดงผลที่ถูกต้อง คุณอาจเห็นปรัศนี กล่อง หรือสัญลักษณ์อย่างอื่นแทนที่อักขระยูนิโคด

ภาษากัศมีร์, ภาษาแคชเมียร์ (อังกฤษ: Kashmiri, ภาษาอังกฤษ: /kæʃˈmɪəri/)[6] หรือ ภาษาเกอศูร์ (کٲشُر, कॉशुर, 𑆑𑆳𑆯𑆶𑆫𑇀 , /kəːʃur/)[7] เป็นภาษากลุ่มดาร์ดิก จัดอยู่ในตระกูลอินโด-ยูโรเปียน สาขาอินโด-อารยัน มีผู้พูดในดินแดนกัศมีร์ประมาณ 7 ล้านคน เรียงประโยคแบบประธาน-กริยา-กรรม ในยุคแรกเขียนด้วยอักษรศารทา แล้วเปลี่ยนเป็นอักษรอาหรับแบบเปอร์เซียภายหลัง วรรณกรรมภาษากัศมีร์มีมาก แต่ไม่ได้รับการสืบทอด ผู้พูดภาษานี้ก็ลดจำนวนลง ภาษานี้เพิ่งได้รับการยอมรับให้เป็นภาษาราชการและมีการสอนในโรงเรียนได้ไม่นาน นิตยสารและหนังสือพิมพ์ภาษากัศมีร์มีเพียงฉบับเดียว

ใน ค.ศ. 2020 ทางรัฐสภาอินเดียลงมติผ่านร่างกฎหมายให้ภาษากัศมีร์เป็นภาษาทางการในชัมมูและกัศมีร์ร่วมกับภาษาโฑครี, ฮินดี, อูรดู และอังกฤษ[8] ภาษากัศมีร์ยังเป็นหนึ่งใน 22 ภาษากำหนดของประเทศอินเดีย

สัทวิทยา[แก้]

ภาษากัศมีร์ประกอบด้วยหน่วยเสียงดังนี้[9][10]

สระ[แก้]

  หน้า กลาง หลัง
สูง i ɨ ɨː u
กลาง e ə əː o
ต่ำ a ɔ ɔː

พยัญชนะ[แก้]

ริมฝีปาก ฟัน ปุ่มเหงือก ปลายลิ้นม้วน หลังปุ่มเหงือก/
เพดานแข็ง
เพดานอ่อน เส้นเสียง
นาสิก m n
หยุด/
กักเสียดแทรก
ธรรมดา pb td t͡s ʈɖ t͡ʃd͡ʒ kɡ
พ่นลม t͡sʰ ʈʰ t͡ʃʰ
เสียดแทรก sz ʃ h
เปิด w l j
รัว r

ระบบการเขียน[แก้]

ภาษากัศมีร์มีระบบอักขรวิธี 3 แบบ: อักษรเปอร์เซีย-อาหรับ, อักษรเทวนาครี และอักษรศารทา บางครั้งมีการเขียนอักษรโรมันในการเขียนภาษากัศมีร์อย่างไม่เป็นทางการ โดยเฉพาะในโลกออนไลน์[3]

ภาษากัศมีร์เคยเขียนด้วยอักษรศารทาหลังคริสต์ศตวรรษที่ 8[11] ภายหลังอักษรนี้เริ่มไม่เหมาะต่อการเขียนภาษานี้ เพราะไม่รองรับเสียงเฉพาะด้วยการใช้สัญลักษณ์สระอย่างเพียงพอ[12] นั่นทำให้ปัจจุบันไม่นิยมใช้อักษรนี้และจำกัดการใช้งานเฉพาะในพิธีทางศาสนาของกัศมีร์บัณฑิต[13]

ปัจจุบันภาษากัศมีร์เขียนด้วยอักษรเปอร์เซีย-อาหรับและเทวนาครี (ซึ่งมีการปรับเปลี่ยนบางส่วน)[14] ในกลุ่มภาษาที่เขียนด้วยอักษรเปอร์เซีย-อาหรับ ภาษากัศมีร์เป็นหนึ่งในภาษาที่ระบุเสียงสระทั้งหมด[15]

รัฐบาลชัมมูและกัศมีร์และสถาบันศิลปะ วัฒนธรรม และภาษาชัมมูและกัศมีร์ยอมรับให้อักษรเปอร์เซีย-อาหรับเป็นอักษรทางการของภาษากัศมีร์[16][17][18][19]

ถึงกระนั้น อักษรเปอร์เซีย-อาหรับยังคงมีการใช้งานทั้งชาวกัศมีร์ที่นับถือศาสนาฮินดูและอิสลาม[20] บางส่วนพยายามสร้างมุมมองทางศาสนาและทำให้อักษรเปอร์เซีย-อาหรับเป็นของมุสลิม ส่วนอักษรเทวนาครีเป็นของฮินดู[21][22][23]

อักษรเปอร์เซีย-อาหรับ[แก้]

พยัญชนะ[แก้]

ชื่อ ทับศัพท์ สัทอักษรสากล รูปอักขระเดี่ยว
بے b [b] ب
پے p [p] پ
پھٔ phạ ph [pʰ] پھ
تے t [t] ت
تھٔ thạ th [tʰ] تھ
ٹے ṭē [ʈ] ٹ
ٹھٔ ṭhạ ṭh [ʈʰ] ٹھ
ثے s [s] ث
جیٖم jīm j [d͡ʒ] ج
چیٖم chīm ch [t͡ʃ] چ
چھٔ chhạ chh [t͡ʃʰ] چھ
حَے hay h [h] ح
خَے khay kh [x], [kʰ] خ
دال dāl d [d] د
ڈال ḍāl [ɖ] ڈ
ذال zāl z [z] ذ
رے r [r] ر
ڑے ṛē [ɽ] ڑ
زے z [z] ز
ژے tsē ts [t͡s] ژ
ژھٔ tshạ tsh [t͡sʰ] ژھ
سیٖن sīn s [s] س
شـیٖـن shīn sh [ʃ] ش
صۄاد sọ̄d s [s] ص
ضۄاد zọ̄d z [z] ض
طـۄے tọy t [t] ط
ظـۄے zọy z [z] ظ
عٲن ạ̄n [∅] ع
غٲن gạ̄n g [ɡ] غ
فے f [f], [pʰ] ف
قاف qāf q [k] ق
كـیٖـف kīf k [k] ک
کھٔ khạ kh [kʰ] کھ
گاف gāf g [ɡ] گ
لام lām l [l] ل
مـیٖـم mīm m [m] م
نـوٗن nūn n, ̃ [n] , [◌̃] ن
نـوٗن غۄنَہ nūn gọnā ̃ [◌̃]

ں

واو wāw v/w [w] و
ہے h [h] ہ
لۄکُٹ یے, بۆڈ یے lọkuṭ yē, boḍ yē y [j] ی, ے
گول یایُگ, تالٕرؠ gōl yāyuk, tālür' ya, ' [ʲa], [ʲ] ؠ

สระ[แก้]

ชื่อ ทับศัพท์ สัทอักษรสากล สระประสมกับ
พยัญชนะ ب (be)
รูปสระท้าย รูปสระกลาง รูปสระต้น รูปสระเดี่ยว รายละเอียดรูปสระเสริมสัทอักษรในยูนิโคด
زَبَر zabar a [a] بَ –َ –َ اَ اَ U+064E ARABIC FATHA
مَد mad ā [aː] با ا ا آ آ (آ) U+0622 ARABIC LETTER ALEF WITH MADDA ABOV (ต้นและเดี่ยว)

(ا) U+0627 ARABIC LETTER ALEF (กลางและท้าย)

اَمالہٕ amālü ạ (ö) [ə] بٔ –ٔ –ٔ أ أ U+0654 ARABIC HAMZA ABOVE
اَمالہٕ مَد amālü mad ạ̄ (ȫ) [əː] بٲ ٲ ٲ ٲ ٲ (ٲ) U+0672 ARABIC LETTER ALEF WITH WAVY HAMZA ABOVE
زیر zēr i [i] بِ –ِ –ِ اِ اِ U+0650 ARABIC KASRA
کَشہِ زیر kashi zēr ī [iː] بی ی ـیٖـ ایٖـ ای (ای) U+06CC ARABIC LETTER FARSI YEH & U+0656 ARABIC SUBSCRIPT ALEF (ต้นและกลาง)

U+06CC ARABIC LETTER FARSI YEH (ท้ายและเดี่ยว)

سایہِ sāyi u',ü [ɨ] بٕ –ٕ –ٕ إ إ U+0655 ARABIC HAMZA BELOW
سایہِ مَد sāyi mad ū',ǖ [ɨː] بٟ –ٟ –ٟ ٳ ٳ (ٳ) U+0673 ARABIC LETTER ALEF WITH WAVY HAMZA BELOW
پیش pēsh u [u] بُ –ُ –ُ اُ اُ U+064F ARABIC DAMMA
کَشہِ واوُک kashi wāwuk ū [uː] بوٗ ـوٗ ـوٗ اوٗ اوٗ (وٗ) U+0648 ARABIC LETTER WAW & U+0657 ARABIC INVERTED DAMMA
نیٖمہٕ واوُک nīmü wāwuk o [o] بۆ ـۆ ـۆ اۆ اۆ (ۆ) U+06C6 ARABIC LETTER OE
واوُک wāwuk ō [oː] بو ـو ـو او او (و) U+0648 ARABIC LETTER WAW
لٔٹؠ واوُک lạṭ' wāwuk [ɔ] بۄ ـۄ ۄ اۄ اۄ (ۄ) U+06C4 ARABIC LETTER WAW WITH RING
لٔٹؠ واوُک مَد lạṭ' wāwuk mad ọ̄ [ɔː] بۄا ـۄا ۄا اۄا اۄا (ۄ + ا) U+06C4 ARABIC LETTER WAW WITH RING & U+0627 ARABIC LETTER ALEF
نیٖمہٕ یایُک nīmü yāyuk e [e] بـٚے ـٚے ـێـ ێـ اےٚ ( ٚ) U+065A ARABIC VOWEL SIGN SMALL V ABOVE ประสมกับ (ے) U+06D2 ARABIC LETTER YEH BARREE
یایُک yāyuk ē [eː] بے ے ـیـ یـ اے (ی) U+06CC ARABIC LETTER FARSI YEH

อักษรเทวนาครี[แก้]

พยัญชนะ[แก้]

อักษร च़ छ़ ज़
สัทอักษรสากล [k] [kʰ] [g] [t͡ʃ] [t͡ʃʰ] [d͡ʒ] [t͡s] [t͡sʰ] [z] [ʈ] [ʈʰ] [ɖ] [t] [tʰ] [d] [n] [p] [pʰ] [b] [m] [j] [r] [l] [w] [ʃ] [s] [h]
ทับศัพท์ k kh g ch chh j ts tsh z ṭh t th d n p ph b m y r l w sh s h

สระ[แก้]

มีการจัดสระกัศมีร์ด้วยอักษรเทวนาครีหลายแบบ[24] โดยตารางข้างล่างนี้มาจากรูปแบบใน ค.ศ. 2002[25] ซึ่งมักมีเนื้อหาและผู้อ่านในอินเทอร์เน็ตมากกว่า ถึงแม้ว่าจะเป็นรูปแบบเก่าก็ตาม[26][27] รูปแบบนี้ใช้สระ ॲ/ऑ และสัญลักษณ์สระ कॅ/कॉ สำหรับสระคล้าย schwa [ə] และสระคล้าย schwa ยาว [əː] ซึ่งพบในภาษาอื่นที่ใช้อักษรเทวนาครีแต่ใช้ระบุเสียงสระอื่น เช่น มราฐีและฮินดี

อักษร -व
สัทอักษรสากล [a] [aː] [ə] [əː] [i] [iː] [ɨ] [ɨː] [u] [uː] [e] [eː] [əi] [o] [oː] [ɔː] [ɔ] [◌̃]
ทับศัพท์ a ā ạ̄ i ī ü ǖ u ū e ē ai o ō ọ̄ ̃
รูปสระกับพยัญชนะ k का कॅ कॉ कि की कॖ कॗ कु कू कॆ के कै कॊ को कौ क्व หรือ कव कं

ส่วนตารางข้างล่างเป็นรูปแบบล่าสุด (2009) ในการสะกดสระและพยัญชนะกัศมีร์[28][29] สิ่งที่เปลี่ยนแปลงหลัก ๆ คืออักขระเดี่ยว ॳ / ॴ และสัญลักษณ์สระ कऺ / कऻ สำหรับเสียงสระคล้าย schwa [ə] และสระคล้าย schwa ยาว [əː] และรูปสระเดี่ยว กับสัญลักษณ์สระ कॏ ใหม่สำหรับเสียงสระ [ɔ] ซึ่งสามารถใช้แทนพยัญชนะ व เดี่ยวได้

อักษร
สัทอักษรสากล [a] [aː] [ə] [əː] [i] [iː] [ɨ] [ɨː] [u] [uː] [e] [eː] [əi] [o] [oː] [ɔː] [ɔ] [◌̃]
ทับศัพท์[30] a ā ạ̄ i ī ü ǖ u ū e ē ai o ō ọ̄ ̃
รูปสระกับพยัญชนะ k का कऺ कऻ कि की कॖ कॗ कु कू कॆ के कै कॊ को कौ कॏ कं

อักษรศารทา[แก้]

พยัญชนะ[แก้]

ชื่อ ทับศัพท์ สัทอักษรสากล รูปอักขระเดี่ยว หมายเหตุ[31][32]
𑆑𑆾𑆮𑇀 𑆑 kōv kạ ka [ka] 𑆑
𑆒𑇀𑆮𑆤𑆴 𑆒 khvani khạ kha [kʰa] 𑆒
𑆓𑆓𑆫𑇀 𑆓 gagar gạ ga [ɡa] 𑆓
𑆓𑆳𑆱𑆴 𑆔 gāsi ghạ gha [ɡʰa] 𑆔 ภาษากัศมีร์ไม่มีพยัญชนะนี้
𑆤𑆳𑆫𑆶𑆓𑇀 𑆕 nārug ṅạ ṅa [ŋa] 𑆕 ภาษากัศมีร์ไม่มีพยัญชนะนี้
𑆖𑆳𑆛𑆶𑆮𑇀 𑆖 tsāṭuv chạ cha [t͡ʃa] 𑆖
𑆗𑇀𑆮𑆛𑆴𑆚𑇀 𑆗 tshvaṭiñ chhạ chha [t͡ʃʰa] 𑆗
𑆘𑆪𑆴 𑆘 zayi jạ ja [d͡ʒa] 𑆘
𑆘𑆳𑆯𑆴𑆚𑇀 𑆙 zashiñ jhạ jha [d͡ʒʰa] 𑆙 ภาษากัศมีร์ไม่มีพยัญชนะนี้
𑆒𑇀𑆮𑆤 𑆦𑆶𑆛𑆴 𑆚 khvana phuṭi ñạ ña [ɲa] 𑆚 ภาษากัศมีร์ไม่มีพยัญชนะนี้
𑆃𑆫𑇀-𑆩𑆳𑆀𑆛 ar mām̐ṭa ṭa [ʈa] 𑆛
𑆱𑆫𑇀-𑆩𑆳𑆀𑆜 sar mām̐ṭha ṭha [ʈʰa] 𑆜
𑆝𑆶𑆝𑇀 𑆝 ḍuḍ ḍạ ḍa [ɖa] 𑆝
𑆝𑆑 𑆞 ḍaka ḍhạ ḍha [ɖʰa] 𑆞 ภาษากัศมีร์ไม่มีพยัญชนะนี้
𑆤𑆳𑆤𑆓𑆶𑆫𑆴 𑆟 nānaguri ṇạ ṇa [ɳa] 𑆟 ภาษากัศมีร์ไม่มีพยัญชนะนี้
𑆠𑆾𑆮𑇀 𑆠 tov tạ ta [ta] 𑆠
𑆡𑆳𑆯𑆴 𑆡 thāshi thạ tha [tʰa] 𑆡
𑆢𑆢𑆮𑇀 𑆢 dadav dạ da [da] 𑆢
𑆢𑆷𑆚𑇀 𑆣 dūñ dhạ dha [dʰa] 𑆣 ภาษากัศมีร์ไม่มีพยัญชนะนี้
𑆤𑆱𑇀𑆠𑆶𑆮𑇀 𑆤 nastūv nạ na [na] 𑆤
𑆥𑆝𑆶𑆫𑆴 𑆥 paḍuri pạ pa [pa] 𑆥
𑆦𑆫𑆴𑆚𑇀 𑆦 phariñ phạ pha [pʰa] 𑆦
𑆧𑆶𑆧𑇀 𑆧 bub bạ ba [ba] 𑆧
𑆧𑆳𑆪𑆴 𑆨 bāyi bhạ bha [bʰa] 𑆨 ภาษากัศมีร์ไม่มีพยัญชนะนี้
𑆩𑆾𑆮𑇀 𑆩 mōv mạ ma [ma] 𑆩
𑆪𑆳𑆮 𑆪 yāva yạ ya [ja] 𑆪
𑆫𑆑 𑆫 raka rạ ra [ra] 𑆫
𑆬𑆳𑆮 𑆬 lāva lạ la [la] 𑆬
𑆧𑆝𑆶 𑆝𑆶𑆝𑇀 𑆝 boḍu ḍuḍ ḍạ ḷa [ɭa] 𑆭 ภาษากัศมีร์ไม่มีพยัญชนะนี้
𑆮𑆯𑆴 𑆮 vashi vạ va [wa] 𑆮
𑆯𑆑𑆫𑇀 𑆯 shakar shạ sha [ʃa] 𑆯
𑆦𑆳𑆫𑆴 𑆰 phāri ṣạ ṣa [ʂa] 𑆰 ภาษากัศมีร์ไม่มีพยัญชนะนี้
𑆱𑆶𑆱𑇀 𑆱 sus sạ sa [sa] 𑆱
𑆲𑆳𑆬 𑆲 hala hạ ha [ha] 𑆲

สระ[แก้]

ชื่อ ทับศัพท์ สัทอักษรสากล รูปอักขระเดี่ยว หมายเหตุ[31]
𑆄𑆢𑆿 𑆃 ādau a a [a] 𑆃
𑆎𑆠𑆮𑇀 𑆄 aitav ā ā [aː] 𑆄
𑆪𑆪𑆮𑇀 𑆪𑆼 yeyev yē i [i] 𑆅
𑆅𑆯𑆫𑆮𑇀 𑆆 yisherav yī ī [iː] 𑆆
𑆮𑇀𑆮𑆥𑆬𑇀 𑆮𑆾 vọpal vō u [u] 𑆇
𑆮𑇀𑆮𑆥𑆬𑇀 𑆧𑆳 𑆈 vọpal bā ū ū [uː] 𑆈
𑆉𑆤𑆮𑇀 𑆉 r̥enav [r̩] 𑆉 ภาษากัศมีร์ไม่มีสระนี้
𑆫𑆒𑆮𑇀 𑆊 rakhav r̥̄ [r̩ː] 𑆊 ภาษากัศมีร์ไม่มีสระนี้
𑆬𑇀𑆪𑆪𑆮𑇀 𑆋 leyev [l̩] 𑆋 ภาษากัศมีร์ไม่มีสระนี้
𑆬𑆵𑆪𑆮𑇀 𑆌 līsav l̥̄ [l̩ː] 𑆌 ภาษากัศมีร์ไม่มีสระนี้
𑆠𑆬𑆮𑇀𑆪𑇀 𑆍 talavya yē ē [eː] 𑆍
𑆠𑆳𑆬𑆵 𑆎 tolī ai ai [əi] 𑆎
𑆮𑆶𑆜𑆾 𑆏 vuṭhō ō ō [oː] 𑆏
𑆃𑆯𑆴𑆢𑆵 𑆐 ashidī au au [ɔː] 𑆐
𑆃𑆝𑆴 𑆖𑆤𑆢𑇀𑆫 𑆦𑇀𑆪𑆫𑆶 aḍi tsandra phyor am̐ [◌̃] 𑆃𑆀
𑆩𑆱𑇀 𑆦𑇀𑆪𑆫𑆴 𑆃𑆁 mas phyori aṃ aṃ [n],[m] 𑆃𑆁
𑆢𑆾 𑆦𑇀𑆪𑆫𑆴 𑆃𑆂 dō phyori aḥ aḥ [h] 𑆃𑆂

สัญลักษณ์สระ

ชื่อ ทับศัพท์ สัทอักษรสากล สัญลักษณ์สระเดี่ยว สัญลักษณ์สระกับพยัญชนะ pa วิธีแสดงเครื่องหมายสระบนพยัญชนะพิเศษต่าง ๆ อย่างชัดเจน
𑆮𑆲𑆳𑆪𑇀 vahāy [aː] 𑆳 𑆥𑆳 𑆕 = 𑆕𑆳

𑆘 = 𑆘𑆳

𑆛 = 𑆛𑆳

𑆟 = 𑆟𑆳

𑆩𑆷𑆤𑇀𑆡𑆫𑇀 mūnthar -i [i] 𑆴 𑆥𑆴
𑆃𑆫𑇀 𑆩𑆷𑆤𑇀𑆡𑆫𑇀 ar mūnthar [iː] 𑆵 𑆥𑆵
𑆒𑆶𑆫𑆶 khuru -u [u] 𑆶 𑆥𑆶 𑆑 = 𑆑𑆶

𑆓 = 𑆓𑆶

𑆙 = 𑆙𑆶

𑆚 = 𑆚𑆶

𑆝 = 𑆝𑆶

𑆠 = 𑆠𑆶

𑆨 = 𑆨𑆶

𑆫 = 𑆫𑆶

𑆯 = 𑆯𑆶

𑆃𑆫𑇀 𑆒𑆷𑆫𑆷 ar khūrū [uː] 𑆷 𑆥𑆷 𑆑 = 𑆑𑆷

𑆓 = 𑆓𑆷

𑆙 = 𑆙𑆷

𑆚 = 𑆚𑆷

𑆝 = 𑆝𑆷

𑆠 = 𑆠𑆷

𑆨 = 𑆨𑆷

𑆫 = 𑆫𑆷

𑆯 = 𑆯𑆷

𑆉𑆤𑆮𑇀 𑆉 r̥enav r̥a -r̥ [r̩] 𑆸 𑆥𑆸 𑆑 = 𑆑𑆸
𑆫𑆒𑆮𑇀 𑆊 rakhav ru -r̥̄ [r̩ː] 𑆹 𑆥𑆹 𑆑 = 𑆑𑆹
𑆬𑇀𑆪𑆪𑆮𑇀 𑆋 leyev l̥a -l̥ [l̩] 𑆺 𑆥𑆺
𑆬𑆵𑆱𑆮𑇀 𑆌 līsav l̥̄a -l̥̄ [l̩ː] 𑆻 𑆥𑆻
𑆲𑇀𑆮𑆁𑆝𑆷 hvanḍū [eː] 𑆼 𑆥𑆼
𑆲𑇀𑆮𑆁𑆘𑆾𑆫𑇀 hvanjōr -ai [əi] 𑆽 𑆥𑆽
𑆃𑆑𑆶 𑆯𑇀𑆪𑆷𑆫𑆶 oku shyūr [oː] 𑆾 𑆥𑆾
𑆃𑆑𑆶𑆯𑆴 𑆮𑆲𑆳𑆪𑇀 okushi vahāy -au [ɔː] 𑆿 𑆥𑆿
𑆃𑆝𑆴 𑆖𑆤𑇀𑆢𑇀𑆫 𑆦𑇀𑆪𑆫𑆶 aḍi tsandra phyor -am̐ [◌̃] 𑆀 𑆥𑆀
𑆩𑆱𑇀 𑆦𑇀𑆪𑆫𑆴 𑆃𑆁 mas phyori aṃ -aṃ [n],[m] 𑆁 𑆥𑆁
𑆢𑆾 𑆦𑇀𑆪𑆫𑆴 𑆃𑆂 dō phyori aḥ -aḥ [h] 𑆂 𑆥𑆂

ตัวอย่าง[แก้]

อักษรเปอร์เซีย-อาหรับ[แก้]

ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนข้อที่ 1:

سٲری اِنسان چھِ آزاد زامٕتؠ۔ وؠقار تہٕ حۆقوٗق چھِ ہِوی۔ تِمَن چھُ سوچ سَمَج عَطا کَرنہٕ آمُت تہٕ تِمَن پَزِ بٲے بَرادٔری ہٕنٛدِس جَذباتَس تَحَت اَکھ أکِس اَکار بَکار یُن ۔ [33]

[səːriː insaːn t͡ʃʰi aːzaːd zaːmɨtʲ . wʲakaːr tɨ hokuːk t͡ʃʰi hiwiː . timan t͡ʃʰu soːt͡ʃ samad͡ʒ ataː karnɨ aːmut tɨ timan pazi bəːj baraːdəriː hɨndis d͡ʒazbaːtas tahat akʰ əkis akaːr bakaːr jun]

"มนุษย์ทั้งปวงเกิดมามีอิสระและเสมอภาคกันในศักดิ์ศรี และสิทธิ ต่างในตนมีเหตุผลและมโนธรรม และควรปฏิบัติต่อกันด้วยจิตวิญญาณแห่งภราดรภาพ"

อักษรศารทา[แก้]

โองการข้างล่างเขียนโดย Lalleshwari:

𑆏𑆩𑆶𑆅 𑆃𑆑𑆶𑆪 𑆃𑆗𑆶𑆫 𑆥𑆾𑆫𑆶𑆩𑇀 𑆱𑆶𑆪𑆲𑆳 𑆩𑆳𑆬𑆴 𑆫𑆾𑆛𑆶𑆩𑇀 𑆮𑆶𑆤𑇀𑆢𑆱𑇀 𑆩𑆁𑆘 𑆱𑆶𑆅 𑆩𑆳𑆬𑆴 𑆑𑆤𑆴 𑆥𑇀𑆪𑆜 𑆓𑆾𑆫𑆶𑆩𑇀 𑆠 𑆖𑆾𑆫𑆶𑆩𑇀 𑆃𑆱𑆱𑇀 𑆱𑆳𑆱 𑆠 𑆱𑆥𑆤𑇀𑆪𑆱 𑆱𑆾𑆤𑇆

[oːmuj akuj at͡ʃʰur porum, suj maːli roʈum wɔndas manz, suj maːli kani pʲaʈʰ gorum tɨ t͡sorum, əːsɨs saːs tɨ sapnis sɔn.]

"I kept reciting the unique divine word "Om" and kept it safe in my heart through my resolute dedication and love. I was simply ash and by its divine grace got metamorphosed into gold."

𑆃𑆑𑆶𑆪 𑆏𑆀𑆑𑆳𑆫 𑆪𑆶𑆱 𑆤𑆳𑆨𑆴 𑆣𑆫𑆼 𑆑𑆶𑆩𑇀𑆮𑆪 𑆧𑇀𑆫𑆲𑇀𑆩𑆳𑆟𑇀𑆝𑆱 𑆪𑆶𑆱 𑆓𑆫𑆴 𑆃𑆒 𑆩𑆶𑆪 𑆩𑆁𑆠𑇀𑆫 𑆪𑆶𑆱 𑆖𑇀𑆪𑆠𑆱 𑆑𑆫𑆼 𑆠𑆱 𑆱𑆳𑆱 𑆩𑆁𑆠𑇀𑆫 𑆑𑇀𑆪𑆳 𑆑𑆫𑆼𑇆

[akuj omkaːr jus naːbi dareː, kumbeː brahmaːnɖas sum gareː, akʰ suj mantʰɨr t͡sʲatas kareː, tas saːs mantʰɨr kjaː kareː.]

One who recites the divine word "Omkār" by devotion is capable to build a bridge between his own and the cosmic consciousness. By staying committed to this sacred word, one doesn't require any other mantra out of thousands others.

อ้างอิง[แก้]

  1. "Kashmiri: A language of India". Ethnologue. สืบค้นเมื่อ 2 มิถุนายน 2007.
  2. ภาษากัศมีร์ ที่ Ethnologue (22nd ed., 2019)
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 Sociolinguistics. Mouton de Gruyter. 1977. สืบค้นเมื่อ 30 สิงหาคม 2009.
  4. "Jammu, Kashmir & Ladakh: Ethno-linguistic areas". koshur.org. สืบค้นเมื่อ 2007-06-02.
  5. "The Jammu and Kashmir Official Languages Bill, 2020". prsindia. 23 กันยายน 2020. สืบค้นเมื่อ 23 กันยายน 2020.
  6. Laurie Bauer, 2007, The Linguistics Student's Handbook, Edinburgh
  7. Kashmiri ที่ Ethnologue (20th ed., 2017) Closed access
  8. "Parliament passes Jammu and Kashmir Official Languages Bill, 2020". The Hindu (ภาษาIndian English). 23 กันยายน 2020.
  9. "Koshur: Spoken Kashmiri: A Language Course: Transcription". สืบค้นเมื่อ 21 พฤษภาคม 2014.
  10. Koul & Wali 2006, pp. 9–16.
  11. "Sarada". Lawrence. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 กุมภาพันธ์ 2008. สืบค้นเมื่อ 2 มิถุนายน 2007.
  12. Pandey, Anshuman (18 กุมภาพันธ์ 2022). "N3545: Proposal to Encode the Sharada Script in ISO/IEC 10646" (PDF). Working Group Document, ISO/IEC JTC1/SC2/WG2.
  13. "The Sharada Script: Origin and Development". Kashmiri Overseas Association. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 มกราคม 2010. สืบค้นเมื่อ 7 กรกฎาคม 2009.
  14. "Kashmiri (कॉशुर / كٲشُر)". Omniglot. สืบค้นเมื่อ 7 กรกฎาคม 2009.
  15. Daniels & Bright (1996). The World's Writing Systems. pp. 753–754.
  16. Kaw, M.K (2004). Kashmir and It's [sic] People: Studies in the Evolution of Kashmiri Society. A.P.H. Publishing Corporation. pp. 303–304. ISBN 978-81-7648-537-1.
  17. Mahapatra, B.P (1989). The Written Languages of the World: A Survey of the Degree and Modes of Use : India : Book 1 Constitutional Languages. Presses Université Laval. p. 270. ISBN 978-2-7637-7186-1.
  18. "Braj B. Kachru: An Introduction to Spoken Kashmiri". www.koshur.org. สืบค้นเมื่อ 30 เมษายน 2020.
  19. "Spoken Kashmiri: A Language Course". www.koshur.org. สืบค้นเมื่อ 30 เมษายน 2020.
  20. "Braj B. Kachru: An Introduction to Spoken Kashmiri". koshur.org. สืบค้นเมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2022.
  21. "Valley divide impacts Kashmiri, Pandit youth switch to Devnagari". Indian Express. สืบค้นเมื่อ 7 กรกฎาคม 2009.
  22. "Devnagari Script for Kashmiri: A Study in its Necessity, Feasibility and Practicality". Kashmiri Overseas Association. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 มกราคม 2009. สืบค้นเมื่อ 7 กรกฎาคม 2009.
  23. "Nastaliq to Devanagari: After Language, Kashmir Watching Script Campaign". MENAFN. 2020. สืบค้นเมื่อ 2 ตุลาคม 2021.
  24. "Kashmiri (deva)". r12a.github.io. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 มกราคม 2021. สืบค้นเมื่อ 26 พฤศจิกายน 2020.
  25. Everson, Michael & Pravin Satpute. (2006). Proposal to add four characters for Kashmiri to the BMP of the UCS. unicode.org.
  26. "Project ZAAN: Basic Reader for Kashmiri Language". koausa.org. สืบค้นเมื่อ 26 พฤศจิกายน 2020.
  27. Raina, M. K. (4 พฤษภาคม 2020). "One Page Primer on Kashmiri Language". M K Raina (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 26 พฤศจิกายน 2020.
  28. Government of India. (2009). Proposal to add six characters in the Devanagari block for representation of Kashmiri language in Devanagari script. unicode.org.
  29. Pandey, Anshuman. (2009). Comments on India’s Proposal to Add Devanagari Characters for Kashmiri. unicode.org.
  30. The central vowels are typically transcribed ⟨ạ⟩ and ⟨u’⟩ when transliterating Arabic script, ⟨ö⟩ and ⟨ü⟩ when transliterating Nagari.
  31. 31.0 31.1 Pandey, Anshuman. (2009). Proposal to Encode the Sharada Script in ISO/IEC 10646. unicode.org.
  32. Grierson, George (1916). On the Sarada Alphabet. pp. 8–12.
  33. "Universal Declaration of Human Rights in Kashmiri Language" (PDF). Office of the High Commissioner for Human Rights.

บรรณานุกรม[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]