ฟุตบอลทีมชาติเบลารุส

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เบลารุส
Shirt badge/Association crest
ฉายาБелыя крылы / Bielyia kryly
(ปีกขาว)
สมาคมสหพันธ์ฟุตบอลแห่งเบลารุส
สมาพันธ์ยูฟ่า (ยุโรป)
หัวหน้าผู้ฝึกสอนGeorgy Kondratyev
กัปตันYevgeny Yablonsky
ติดทีมชาติสูงสุดAlyaksandr Kulchy (102)
ทำประตูสูงสุดMaksim Romaschenko (20)
สนามเหย้าDinamo Stadium, มินสค์
รหัสฟีฟ่าBLR
อันดับฟีฟ่า
อันดับปัจจุบัน 96 ลดลง 1 (4 เมษายน 2024)[1]
อันดับสูงสุด36 (กุมภาพันธ์ 2011)
อันดับต่ำสุด142 (มีนาคม 1994)
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก
ไม่ทางการ:
ธงชาติลิทัวเนีย ลิทัวเนีย 1–1 เบลารุส ธงชาติเบลารุส
(วิลนีอัส ประเทศลิทัวเนีย; 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1992)
ทางการ:
ธงชาติเบลารุส เบลารุส 1–1 ยูเครน ธงชาติยูเครน
(มินสค์ ประเทศเบลารุส; 28 ตุลาคม ค.ศ. 1992)
ชนะสูงสุด
ธงชาติเบลารุส เบลารุส 5–0 ลิทัวเนีย ธงชาติลิทัวเนีย
(มินสค์ ประเทศเบลารุส; 7 มิถุนายน ค.ศ. 1998)
ธงชาติเบลารุส เบลารุส 6–1 ทาจิกิสถาน ธงชาติทาจิกิสถาน
(บารือเซา ประเทศเบลารุส; 4 กันยายน ค.ศ. 2014)
ธงชาติเบลารุส เบลารุส 5–0 ซานมารีโน ธงชาติซานมารีโน
(มินสค์ ประเทศเบลารุส; 8 กันยายน ค.ศ. 2018)
แพ้สูงสุด
ธงชาติเบลเยียม เบลเยียม 8–0 เบลารุส ธงชาติเบลารุส
(เลอเฟิน ประเทศเบลเยียม; 30 มีนาคม ค.ศ. 2021)

ฟุตบอลทีมชาติเบลารุส (เบลารุส: Зборная Беларусі па футболе, อักษรโรมัน: Zbornaja Biełarusi pa futbole; รัสเซีย: Сборная Беларуси по футболу, อักษรโรมัน: Sbornaya Belarusi po futbolu) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนของประเทศเบลารุส อยู่ภายใต้การควบคุมของสหพันธ์ฟุตบอลแห่งเบลารุส ใช้บอรีซอฟอารีนาในเมืองบารือเซา เป็นสนามเหย้า เบลารุสไม่เคยผ่านรอบคัดเลือกของฟุตบอลโลกและฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป

สนามแข่งขัน[แก้]

ทีมชาติเบลารุสเคยใช้สนามกีฬาดีนาโมมินสค์เป็นสนามเหย้าจนถึงปี ค.ศ. 2012

เบลารุสเคยลงเล่นเกมเหย้าที่สนามกีฬาดีนาโมในมินสค์ ซึ่งมีความจุ 40,000 ที่นั่ง ต่อมาในปลายปี ค.ศ. 2012 สนามกีฬาดีนาโมได้ปิดปรับปรุง ทำให้เบลารุสต้องลงเล่นที่สนามเหย้าแห่งอื่นชั่วคราวไปก่อน

นับตั้งแต่ปี ค.ศ. 2014 เบลารุสได้ย้ายไปใช้บอรีซอฟอารีนาเป็นสนามเหย้าแห่งใหม่

สนามเหย้าของทีมชาติเบลารุส
สนาม ที่ตั้ง วันที่ใช้งาน หมายเหตุ
บอรีซอฟอารีนา บารือเซา ค.ศ. 2014 – สนามหลัก
สนามกีฬาดีนาโม มินสค์ – ค.ศ. 2012 สนามหลัก
สนามกีฬาซิตี มาลัดซเยชนา พฤษภาคม ค.ศ. 1996 กระชับมิตร v อาเซอร์ไบจาน
วีเชปสก์เซ็นทรัลสปอร์ตคอมเพล็กซ์ วีเชปสก์ พฤศจิกายน ค.ศ. 2005 กระชับมิตร v ลัตเวีย
สนามกีฬากลางโฆเมียล โฆเมียล ตุลาคม ค.ศ. 2007 ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2008 รอบคัดเลือก v ลักเซมเบิร์ก
สนามกีฬาเนมัน ฆโรดนา มิถุนายน ค.ศ. 2009 ฟุตบอลโลก 2010 รอบคัดเลือก v อันดอร์รา
สนามกีฬาฮาราดสกี บารือเซา มิถุนายน ค.ศ. 2009 กระชับมิตร v มอลโดวา
รีเจียนนัลสปอร์ตคอมเพล็กซ์แบรสต์สกี แบรสต์ ตุลาคม ค.ศ. 2009 ฟุตบอลโลก 2010 รอบคัดเลือก v คาซัคสถาน

สถิติการแข่งขัน[แก้]

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป[แก้]

รอบสุดท้าย รอบคัดเลือก
ปี ผล Pos Pld W D L GF GA GD
1960–1992 ส่วนหนึ่งของ ธงชาติสหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต
อังกฤษ 1996 ไม่ผ่านรอบคัดเลือก 4 10 3 2 5 8 13 −5
เบลเยียม เนเธอร์แลนด์ 2000 5 8 0 3 5 4 10 −6
โปรตุเกส 2004 5 8 1 0 7 4 20 −16
ออสเตรีย สวิตเซอร์แลนด์ 2008 4 12 4 1 7 17 23 −6
โปแลนด์ ยูเครน 2012 4 10 3 4 3 8 7 +1
ฝรั่งเศส 2016 4 10 3 2 5 8 14 −6
ยุโรป 2020 รอการแข่งขัน
ทั้งหมด 0/15  – 48 11 10 27 41 73 -32

ฟุตบอลโลก[แก้]

รอบสุดท้าย รอบคัดเลือก
ปี ผล อันดับในกลุ่ม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย
1930–1990 ส่วนหนึ่งของ ธงชาติสหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต
สหรัฐ 1994 ไม่ได้เข้าร่วม
ฝรั่งเศส 1998 ไม่ผ่านรอบคัดเลือก 6 10 1 1 8 5 21
เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น 2002 3 10 4 3 3 12 11
เยอรมนี 2006 5 10 2 4 4 12 14
แอฟริกาใต้ 2010 4 10 4 1 5 19 14
บราซิล 2014 5 8 1 1 6 7 16
รัสเซีย 2018 6 10 1 2 7 6 21
ประเทศกาตาร์ 2022 5 8 1 0 7 7 24
ทั้งหมด 0/7  – 66 14 12 40 68 121

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "The FIFA/Coca-Cola World Ranking". FIFA. 4 เมษายน 2024. สืบค้นเมื่อ 4 เมษายน 2024.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]