ฟุตบอลทีมชาติเชโกสโลวาเกีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เชโกสโลวาเกีย
to 1920–1992
Shirt badge/Association crest
สมาคมสมาคมฟุตบอลเชโกสโลวาเกีย
ติดทีมชาติสูงสุดซเดเนค เนฮอดา (91)
ทำประตูสูงสุดอานทอนีน พุช (34)
สนามเหย้าหลายแห่ง
รหัสฟีฟ่าTCH
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก
ธงชาติฮังการี ฮังการี 2–1 โบฮีเมีย ธงชาติโบฮีเมีย
(บูดาเปสต์ ประเทศฮังการี; 5 เมษายน ค.ศ. 1903)[a]
หลังเป็นเอกราช
ธงชาติเชโกสโลวาเกีย เชโกสโลวาเกีย 7–0 ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย ธงชาติราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย
(แอนต์เวิร์ป ประเทศเบลเยียม; 28 สิงหาคม ค.ศ. 1920)
ชนะสูงสุด
ธงชาติเชโกสโลวาเกีย เชโกสโลวาเกีย 7–0 ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย ธงชาติราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย
(แอนต์เวิร์ป ประเทศเบลเยียม; 28 สิงหาคม ค.ศ. 1920)
ธงชาติเชโกสโลวาเกีย เชโกสโลวาเกีย 7–0 ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย ธงชาติราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย
(ปราก ประเทศเชโกสโลวาเกีย; 28 ตุลาคม ค.ศ. 1925)
แพ้สูงสุด
ธงชาติฮังการี ฮังการี 8–3 เชโกสโลวาเกีย ธงชาติเชโกสโลวาเกีย
(บูดาเปสต์ ประเทศฮังการี; 19 กันยายน ค.ศ. 1937)
ธงชาติสกอตแลนด์ สกอตแลนด์ 5–0 เชโกสโลวาเกีย ธงชาติเชโกสโลวาเกีย
(กลาสโกว์ ประเทศสกอตแลนด์; 8 ธันวาคม ค.ศ. 1937)
ธงชาติฮังการี ฮังการี 5–0 เชโกสโลวาเกีย ธงชาติเชโกสโลวาเกีย
(ประเทศฮังการี; 30 เมษายน ค.ศ. 1950)
ธงชาติฮังการี ฮังการี 5–0 เชโกสโลวาเกีย ธงชาติเชโกสโลวาเกีย
(ประเทศฮังการี; 19 ตุลาคม ค.ศ. 1952)
ธงชาติออสเตรีย ออสเตรีย 5–0 เชโกสโลวาเกีย ธงชาติเชโกสโลวาเกีย
(ซือริช ประเทศสวิตเซอร์แลนด์; 19 มิถุนายน ค.ศ. 1954)
ฟุตบอลโลก
เข้าร่วม8 (ครั้งแรกใน 1934)
ผลงานดีที่สุดรองชนะเลิศ (1934, 1962)
ยูฟ่ายูโรปาลีก
เข้าร่วม3 (ครั้งแรกใน 1960)
ผลงานดีที่สุดชนะเลิศ (1976)

ฟุตบอลทีมชาติเชโกสโลวาเกีย (เช็ก: Československá fotbalová reprezentace, สโลวัก: Československé národné futbalové mužstvo) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากเชโกสโลวาเกียในช่วง พ.ศ. 2465-2536 (ค.ศ. 1922-1993) ภายหลังประเทศนี้ได้แยกออกเป็นสาธารณรัฐเช็กและสาธารณรัฐสโลวัก ทีมชาติจึงได้ถูกแบ่งออกเป็นทีมชาติเช็กเกียและทีมชาติสโลวาเกีย

ปัจจุบันทีมชาติเช็กเกียถือเป็นผู้สืบทอดทีมชาติเชโกสโลวาเกียแต่เพียงผู้เดียว ภายใต้การรับรองของฟีฟ่าและยูฟ่า

ทีมชาติเชโกสโลวาเกียนี้ได้อันดับรองชนะเลิศในฟุตบอลโลก 2 ครั้งใน ฟุตบอลโลก 1934 และฟุตบอลโลก 1962 ชนะเลิศฟุตบอลยูโร ในฟุตบอลยูโร 1976 และยังคงได้เหรียญทองฟุตบอลโอลิมปิก 1980 ที่มอสโก และเหรียญเงินโอลิมปิก 1964 ที่ โตเกียว

ประวัติ[แก้]

ชุดแข่ง[แก้]

1934–1976
1950–1967 (เยือน)
1980–1989
เหย้าใน ค.ศ. 1990
เยือนใน ค.ศ. 1990
เยือนใน ค.ศ. 1992–93


เกียรติประวัติ[แก้]

ฟุตบอลโลก[แก้]

  • 1930 - ไม่ได้เข้าร่วม
  • 1934 - รองชนะเลิศ
  • 1938 - รอบสี่ทีมสุดท้าย
  • 1950 - ไม่ได้เข้าร่วม
  • 1954, 1958 - รอบแรก
  • 1962 - รองชนะเลิศ
  • 1966 - ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
  • 1970 - รอบแรก
  • 1974, 1978 - ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
  • 1982 - รอบแรก
  • 1986 - ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
  • 1990 - รอบ 8 ทีมสุดท้าย
  • 1994 - ไม่ผ่านรอบคัดเลือก และประเทศได้แบ่งออกเป็นสองประเทศในปี 1993

ฟุตบอลโอลิมปิก[แก้]

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป[แก้]

  • 1960 - อันดับสาม
  • 1964 - 1972 - ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
  • 1976 - ชนะเลิศ
  • 1980 - อันดับสาม
  • 1984 - 1992 - ไม่ผ่านรอบคัดเลือก

ผู้เล่น[แก้]

อดีตผู้เล่นคนสำคัญ[แก้]

หมายเหตุ[แก้]

  1. ทางสมาคมฟุตบอลสาธารณรัฐเช็ก (FAČR) ยอมรับการแข่งขันครั้งแรกอยู่ในวันที่ 1 เมษายน ค.ศ. 1906 โดยทีมตัวแทนปรากของ FAČR ยอมรับการแข่งขันระหว่างฮังการีกับโบฮีเมียในวันที่ 5 เมษายน ค.ศ. 1903 ส่วนทางสหพันธ์ฟุตบอลฮังการียอมรับให้เดือนเมษายน ค.ศ. 1903 เป็นเดือนแข่งขันครั้งแรกของโบฮีเมีย[1]

อ้างอิง[แก้]

  1. "1901-1910 MATCHES". University of Cambridge. สืบค้นเมื่อ 23 February 2022.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]