ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2024

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2024
Fußball-Europameisterschaft 2024 (ในภาษาเยอรมัน)

United by Football.
Vereint im Herzen Europas.

(รวมใจกันด้วยฟุตบอล ณ ใจกลางยุโรป)
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพ เยอรมนี
วันที่14 มิถุนายน – 14 กรกฎาคม ค.ศ. 2024
ทีม24
สถานที่10 (ใน 10 เมืองเจ้าภาพ)
2020
2028

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2024 (อังกฤษ: 2024 UEFA European Football Championship; เยอรมัน: Fußball-Europameisterschaft 2024) หรือรู้จักกันในชื่อ ยูโร 2024 เป็นการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปครั้งที่ 17 จัดขึ้นโดยยูฟ่า จัดขึ้นที่ประเทศเยอรมนี ระหว่างเดือนมิถุนายน-กรกฎาคม พ.ศ. 2567

การแข่งขันครั้งนี้นับเป็นครั้งที่ 3 ที่เยอรมนีเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน โดยครั้งแรก ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 1988 ขณะเป็นเยอรมนีตะวันตก และครั้งที่สอง ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2020 (ซึ่งแข่งขันในปี 2021) แข่งขัน 4 นัด ที่สนามอัลลีอันทซ์อาเรนา เมืองมิวนิก ซึ่งนับว่าเป็นการแข่งขันครั้งแรกในเยอรมันตะวันออกในอดีต [1]

การคัดเลือกเป็นเจ้าภาพ[แก้]

ผลการลงคะแนน
ประเทศ คะแนน
 เยอรมนี 132
 ตุรกี 4
งดออกเสียง 1
รวม 137

รอบคัดเลือก[แก้]

ทีมที่ผ่านเข้ารอบ[แก้]

ทีม วิธีการเข้ารอบ วันที่เข้ารอบ จำนวนครั้งที่เข้ารอบ[A]
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี[B] เจ้าภาพ 27 กันยายน ค.ศ. 2018 13 (1972, 1976, 1980, 1984, 1988, 1992, 1996, 2000, 2004, 2008, 2012, 2016, 2020)
ธงชาติเบลเยียม เบลเยียม กลุ่ม เอฟ สองอันดับสูงสุด 13 ตุลาคม ค.ศ. 2023 6 (1972, 1980, 1984, 2000, 2016, 2020)
ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส กลุ่ม บี ชนะเลิศ 13 ตุลาคม ค.ศ. 2023 10 (1960, 1984, 1992, 1996, 2000, 2004, 2008, 2012, 2016, 2020)
ธงชาติโปรตุเกส โปรตุเกส กลุ่ม เจ ชนะเลิศ 13 ตุลาคม ค.ศ. 2023 8 (1984, 1996, 2000, 2004, 2008, 2012, 2016, 2020)
ธงชาติสเปน สเปน กลุ่ม เอ สองอันดับสูงสุด 15 ตุลาคม ค.ศ. 2023 11 (1964, 1980, 1984, 1988, 1996, 2000, 2004, 2008, 2012, 2016, 2020)
ธงชาติสกอตแลนด์ สกอตแลนด์ กลุ่ม เอ สองอันดับสูงสุด 15 ตุลาคม ค.ศ. 2023 3 (1992, 1996, 2020)
ธงชาติตุรกี ตุรกี กลุ่ม ดี สองอันดับสูงสุด 15 ตุลาคม ค.ศ. 2023 5 (1996, 2000, 2008, 2016, 2020)
ธงชาติออสเตรีย ออสเตรีย กลุ่ม เอฟ สองอันดับสูงสุด 16 ตุลาคม ค.ศ. 2023 3 (2008, 2016, 2020)
ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ กลุ่ม ซี ชนะเลิศ 17 ตุลาคม ค.ศ. 2023 10 (1968, 1980, 1988, 1992, 1996, 2000, 2004, 2012, 2016, 2020)
ธงชาติฮังการี ฮังการี Group G winner 16 พฤศจิกายน ค.ศ. 2023 4 (1964, 1972, 2016, 2020)
ธงชาติสโลวาเกีย สโลวาเกีย[C] Group J runner-up 16 พฤศจิกายน ค.ศ. 2023 5 (1960, 1976, 1980, 2016, 2020)
ธงชาติแอลเบเนีย แอลเบเนีย Group E winner 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 2023 1 (2016)
ธงชาติเดนมาร์ก เดนมาร์ก Group H winner 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 2023 9 (1964, 1984, 1988, 1992, 1996, 2000, 2004, 2012, 2020)
ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ Group B runner-up 18 พฤศจิกายน ค.ศ. 2023 10 (1976, 1980, 1988, 1992, 1996, 2000, 2004, 2008, 2012, 2020)
ธงชาติโรมาเนีย โรมาเนีย Group I winner 18 พฤศจิกายน ค.ศ. 2023 5 (1984, 1996, 2000, 2008, 2016)
ธงชาติสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ Group I runner-up 18 พฤศจิกายน ค.ศ. 2023 5 (1996, 2004, 2008, 2016, 2020)
ธงชาติเซอร์เบีย เซอร์เบีย[D] Group G runner-up 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 2023 5 (1960, 1968, 1976, 1984, 2000)[E]
ธงชาติเช็กเกีย เช็กเกีย[C] Group E runner-up 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 2023 10 (1960, 1976, 1980, 1996, 2000, 2004, 2008, 2012, 2016, 2020)
ธงชาติอิตาลี อิตาลี Group C runner-up 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 2023 10 (1968, 1980, 1988, 1996, 2000, 2004, 2008, 2012, 2016, 2020)
ธงชาติสโลวีเนีย สโลวีเนีย Group H runner-up 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 2023 1 (2000)
ธงชาติโครเอเชีย โครเอเชีย Group D runner-up 21 พฤศจิกายน ค.ศ. 2023 6 (1996, 2004, 2008, 2012, 2016, 2020)
ธงชาติประเทศจอร์เจีย จอร์เจีย Play-off Path C winner 26 มีนาคม ค.ศ. 2024 0 (ครั้งแรก)
ธงชาติยูเครน ยูเครน Play-off Path B winner 26 มีนาคม ค.ศ. 2024 3 (2012, 2016, 2020)
ธงชาติโปแลนด์ โปแลนด์ Play-off Path A winner 26 มีนาคม ค.ศ. 2024 4 (2008, 2012, 2016, 2020)
  1. ตัวหนา หมายถึงชนะเลิศในปีนั้น ตัวเอียง หมายถึงเป็นเจ้าภาพในปีนั้น
  2. ตั้งแต่ ค.ศ. 1972 ถึง 1988 เยอรมนี เข้าร่วมในฐานะ เยอรมนีตะวันตก.
  3. 3.0 3.1 From 1960 to 1980, Slovakia and the Czech Republic competed as Czechoslovakia.[2][3][4][5]
  4. From 1960 to 1984, Serbia competed as Yugoslavia, and in 2000 as FR Yugoslavia.
  5. FR Yugoslavia were initially to appear in 1992 (after qualifying as Yugoslavia), but were replaced after being banned by the United Nations from all international sport.

สนาม[แก้]

เบอร์ลิน มิวนิก ดอร์ทมุนท์ เก็ลเซินเคียร์เชิน
โอลึมพีอาชตาดีอ็อน อัลลีอันทซ์อาเรนา เว็สท์ฟาเลินชตาดีอ็อน อาเรนาเอาฟ์ชัลเคอ
ความจุ: 74,461 ความจุ: 70,076 ความจุ: 65,849 ความจุ: 54,740
แฟรงก์เฟิร์ต ชตุทท์การ์ท
วัลท์ชตาดีอ็อน เมอร์เซเดส-เบนซ์ อาเรนา
ความจุ: 54,697 ความจุ: 54,244
ฮัมบวร์ค ดึสเซิลดอร์ฟ โคโลญ ไลพ์ซิช
ฟ็อลคส์พาร์คชตาดีอ็อน เมอร์คูร์ สไปล์-อาเรนา ไรน์เอแนร์กีชตาดีอ็อน เรด บูลล์ อาเรนา
ความจุ: 52,245 ความจุ: 51,031 ความจุ: 49,827 ความจุ: 42,959

อ้างอิง[แก้]

  1. "Euro 2024: Germany beats Turkey to host tournament". BBC News. 27 September 2018. สืบค้นเมื่อ 27 September 2018.
  2. UEFA.com (2015-11-17). "UEFA EURO 2016: How all the teams qualified". UEFA.com (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2024-01-02.
  3. UEFA.com (2021-02-22). "UEFA EURO 2020 contenders in focus: Czech Republic". UEFA.com (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2024-01-06.
  4. UEFA.com (2021-03-03). "UEFA EURO 2020 contenders in focus: Slovakia". UEFA.com (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2024-01-06.
  5. UEFA.com (28 December 2023). "Who has qualified for UEFA EURO 2024?". UEFA. สืบค้นเมื่อ 5 January 2024.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]