นาจาฟ

พิกัด: 32°00′N 44°20′E / 32.00°N 44.33°E / 32.00; 44.33
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
นาจาฟ

ٱلنَّجَف

อันนะญะฟุลอัชร็อฟ, บานีกิยา
เมือง
Imam Ali Shrine
Aerial view of Najaf
ศาลเจ้าอิหม่ามอะลี สถานที่ศักดิ์สิทธิ์ที่สุดของมุสลิมนิกายชีอะฮ์ และเป็นหนึ่งในสถานที่สำคัญที่สุดของนาจาฟ
นาจาฟตั้งอยู่ในประเทศอิรัก
นาจาฟ
นาจาฟ
ที่ตั้งของนาจาฟในประเทศอิรัก
พิกัด: 32°00′00″N 44°20′00″E / 32.00000°N 44.33333°E / 32.00000; 44.33333
ประเทศ อิรัก
เขตผู้ว่าการนาจาฟ
ความสูง60 เมตร (200 ฟุต)
ประชากร
 (2014)
 • ทั้งหมด1,389,500[1] คน
 จำนวนประมาณ[2]
เขตเวลาUTC+3
นาจาฟตั้งอยู่ในประเทศอิรัก
นาจาฟ
นาจาฟ
นาจาฟ (ประเทศอิรัก)

นาจาฟ (อาหรับ: ٱلنَّجَف) หรือ อันนะญะฟุลอัชร็อฟ (อาหรับ: ٱلنَّجَف ٱلْأَشْرَف) มีอีกชื่อว่า บานีกิยา (อาหรับ: بَانِيقِيَا) เป็นเมืองในประเทศอิรักตอนกลาง ตั้งอยู่ทางใต้ของกรุงแบกแดด ราว 160 กิโลเมตร โดยมีประชากรใน ค.ศ. 2013 ประมาณ 1,000,000 คน[2] เป็นเมืองหลวงของเขตผู้ว่าการนาจาฟ ถือเป็นหนึ่งในเมืองศักดิ์สิทธิ์ของศาสนาอิสลามนิกายชีอะฮ์ และเป็นศูนย์กลางอำนาจทางการเมืองชีอะฮ์ของอิรักด้วย[8]

ชื่อ[แก้]

รายงานจากอิบน์ มันซูร คำว่า "นะญัฟ" (نجف) มีความหมายตรงตัวว่า สถานที่สูงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่มีน้ำขังอยู่รอบ ๆ ถึงแม้ว่าน้ำจะไม่เอ่อล้นเกินระดับปกติก็ตาม[9] ส่วนอัชชัยคุศเศาะดูกยกฮะดีษจากอิหม่าม อัศศอดิกมาอ้างว่า คำว่า "นะญัฟ" มาจากวลี "nay jaff" ซึ่งหมายถึง "ทะเล nay แห้งไปแล้ว" แล้วค่อย ๆ เปลี่ยนแปลงไปเป็น "Najaf"[10]

ภูมิศาสตร์[แก้]

ภูมิอากาศ[แก้]

นาจาฟอยู่ในสภาพภูมิอากาศแบบทะเลทรายเขตร้อน (BWh) ตามการแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิพเพิน ซึ่งมีฤดูร้อนที่ร้อนมากและยาวนาน และฤดูหนาวไม่รุนแรง อุณหภูมิรายปีเฉลี่ยอยู่ที่ 23.6 °C (74.5° F) หยาดน้ำฝนเฉลี่ยอยู่ที่ 69 มิลลิเมตร (2.71 นิ้ว)

ข้อมูลภูมิอากาศของนาจาฟ
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) 14.4
(58)
18.3
(65)
23.3
(74)
30
(86)
36.1
(97)
40.6
(105)
42.2
(108)
41.7
(107)
38.9
(102)
32.8
(91)
23.3
(74)
16.7
(62)
30
(86)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) 6.7
(44)
9.4
(49)
13.3
(56)
18.9
(66)
23.3
(74)
27.8
(82)
29.4
(85)
28.9
(84)
26.7
(80)
21.1
(70)
12.8
(55)
8.3
(47)
18.9
(66)
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) -7.2
(19)
-4.5
(23.9)
2.2
(36)
7.0
(44.6)
13.0
(55.4)
17.8
(64)
19.4
(66.9)
22.2
(72)
18.3
(64.9)
7.0
(44.6)
0.2
(32.4)
-2.5
(27.5)
−7.2
(19)
หยาดน้ำฟ้า ซม (นิ้ว) 3
(1)
1
(0.5)
1
(0.5)
1
(0.5)
1
(0.2)
0
(0)
0
(0)
0
(0)
0
(0)
1
(0.2)
1
(0.4)
1
(0.4)
7
(2.7)
แหล่งที่มา 1: Weatherbase[11]
แหล่งที่มา 2: [12]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Iraq: Governorates, Cities, Towns, Municipal Districts - Population Statistics in Maps and Charts". www.citypopulation.de.
  2. 2.0 2.1 Ring, Trudy (1996). "Najaf". Global Security. สืบค้นเมื่อ 2009-09-13.
  3. Cordesman, Anthony H.; Khazai, Sam (4 Jun 2014). Iraq in Crisis. Rowman & Littlefield. p. 319. ISBN 9781442228566.
  4. Cockburn, Patrick (8 Apr 2008). Muqtada: Muqtada al-Sadr, the Shia Revival, and the Struggle for Iraq (illustrated ed.). Simon and Schuster. p. 146. ISBN 9781416593744.
  5. Pollack, Kenneth M.; Alkadiri, Raad; J. Scott Carpenter; Kagan, Frederick W.; Kane, Sean (2011). Unfinished Business: An American Strategy for Iraq Moving Forward. Brookings Institution Press. p. 103. ISBN 9780815721666.
  6. Robinson, Linda (2005). Masters of Chaos: The Secret History of the Special Forces (illustrated, reprint ed.). PublicAffairs. p. 260. ISBN 9781586483524.
  7. "Ali al-Sistani is Iraq's best hope of curbing Iranian influence. But he is 85 and has no obvious successor". The Economist. 5 December 2015. สืบค้นเมื่อ 6 December 2015.
  8. [3][4][5][6][7]
  9. Ibn Manẓūr, Lisān al-ʿArab, under the word "Najaf".
  10. Ṣadūq, ʿIlal al-sharāʾiʿ, vol. 1, p. 31.
  11. "Weatherbase: Historical Weather for An Najaf, Iraq". Weatherbase. 2011. Retrieved on November 24, 2011.
  12. http://docs.lib.noaa.gov/rescue/data_rescue_iraq.html#o48577960

อ่านเพิ่ม[แก้]

ตีพิมพ์ในคริสต์ศตวรรษที่ 19-20
ตีพิมพ์ในคริสต์ศตวรรษที่ 21
  • C. Edmund Bosworth, บ.ก. (2007). "Najaf". Historic Cities of the Islamic World. Leiden: Koninklijke Brill. ISBN 978-9004153882.
  • Michael R. T. Dumper; Bruce E. Stanley, บ.ก. (2007), "Najaf", Cities of the Middle East and North Africa, Santa Barbara, Calif.: ABC-CLIO (ตีพิมพ์ 2008), ISBN 978-1576079195

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

32°00′N 44°20′E / 32.00°N 44.33°E / 32.00; 44.33

  1. http://citypopulation.de/Iraq-Cities.html