ซีเมนส์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
Siemens AG
ประเภทบริษัทมหาชน
การซื้อขาย
FWB: SIE
DAX component
อุตสาหกรรมกลุ่มบริษัท
ก่อนหน้าA. Reyrolle & Company
Siemens-Schuckert
Siemens-Reiniger-Werke
ก่อตั้ง1 ตุลาคม 1847; 176 ปีก่อน (1847-10-01)
เบอร์ลิน ราชอาณาจักรปรัสเซีย
ผู้ก่อตั้งแวร์เนอร์ ฟอน ซีเมนส์
สำนักงานใหญ่มิวนิกและเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี[1]
พื้นที่ให้บริการ
ทั่วโลก
บุคลากรหลัก
Jim Hagemann Snabe
(ประธาน)
Roland Busch
(ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร)
ผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีการผลิตกระแสไฟฟ้า, ระบบอัตโนมัติในอุตสาหกรรมและอาคาร, เทคโนโลยีทางการแพทย์, ยานยนต์สำหรับรถไฟ, ระบบบำบัดน้ำ, สัญญาณเตือนไฟไหม้, ซอฟต์แวร์ PLM, เครื่องจักรอุตสาหกรรม
บริการธุรกิจบริการ, การเงิน, วิศวกรรมโครงการและการก่อสร้าง
รายได้เพิ่มขึ้น 62.265 พันล้านยูโร (2021)[2]
รายได้จากการดำเนินงาน
เพิ่มขึ้น 7.496 พันล้านยูโร (2021)[2]
รายได้สุทธิ
เพิ่มขึ้น 6.697 พันล้านยูโร (2021)[2]
สินทรัพย์เพิ่มขึ้น 139.608 พันล้านยูโร (2021)[2]
ส่วนของผู้ถือหุ้นเพิ่มขึ้น 49.274 พันล้านยูโร (2021)[2]
เจ้าของตระกูลซีเมนส์ (6.9%)
พนักงาน
303,000 (2021)[2]
แผนก
เว็บไซต์www.siemens.com

ซีเมนส์ (Siemens AG) เป็นกลุ่มบริษัท พลังงาน, และสุขภาพ โดยมีแผนกรวมทั้งหมด 15 แผนก ซีเมนส์และบริษัทในเครือจ้างงานทั่วโลกประมาณ 400,000 ตำแหน่ง[3] ในเกือบ 190 ประเทศ และแจ้งรายได้ทั่วโลก 72,448 ล้านยูโร ในปีงบประมาณ 2550[3] บริษัทซีเมนส์อยู่ในตลาดหลักทรัพย์แฟรงค์เฟิร์ต และอยู่ในตลาดหลักทรัพย์นิวยอร์กตั้งแต่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2544

ซีเมนส์ก่อตั้งโดย แวร์เนอร์ ฟอน ซีเมนส์ เมื่อ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2390 (ค.ศ. 1847) โดยเริ่มจากการคิดค้นระบบโทรเลขที่ให้ผลลัพธ์เป็นตัวอักษรแทนที่จะเป็นรหัสมอร์ส

ในช่วงปลายปี พ.ศ. 2560 ซีเมนส์ได้ประกาศการควบรวมกิจการเฉพาะหน่วยธุรกิจระบบรางและระบบอาณัติสัญญาณ (ซีเมนส์ โมบิลิที) เข้ากับอัลสตอม (Alstom) ของประเทศฝรั่งเศส เพื่อร่วมกันสร้างบริษัทระบบรางที่ใหญ่ที่สุดในโลก อย่างไรก็ตามในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 คณะกรรมาธิการยุโรปได้ห้ามการควบรวมกิจการดังกล่าว

ซีเมนส์กับเครื่องใช้ไฟฟ้า[แก้]

ซีเมนส์กับประเทศไทย[แก้]

ระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนทั้งสามระบบของประเทศไทยในปัจจุบันอันได้แก่ รถไฟฟ้าบีทีเอส, รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล, แอร์พอร์ตเรลลิงก์ ได้ใช้ขบวนรถของซีเมนส์ โดยแบ่งตามรุ่นของรถไฟฟ้า ดังนี้

อ้างอิง[แก้]

  1. "Corporate Information", Siemens Aktiengesellschaft.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 "Siemens Report for Fiscal 2021" (PDF). Siemens. สืบค้นเมื่อ 30 January 2022.
  3. 3.0 3.1 Siemens AG – Annual Report เก็บถาวร 2008-05-23 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, www.siemens.com, January 2008
  4. “ยานลูกSAT1สุวรรณภูมิ”..พร้อม!! ปล่อยรถไฟฟ้าAPMส่งขึ้นเครื่อง
  5. เม.ย.ปีหน้า “สุวรรณภูมิ” เปิดยานลูกSAT1 นั่งรถไฟฟ้าขึ้นเครื่องเสริมทัพไต่อันดับ
  6. ส่องความคืบหน้า “สุวรรณภูมิเฟส 2” ปีหน้าได้นั่งรถไฟฟ้า
  7. เผยโฉมรถไฟฟ้าวิ่งในสนามบินสุวรรณภูมิรับผู้โดยสาร 3.5 พันคนต่อชั่วโมง
  8. Siemens builds fully Automated People Mover at Bangkok Airport

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]