การทัพฟิลิปปินส์ (ค.ศ. 1941-1942)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ยุทธการที่ฟิลิปปินส์
ส่วนหนึ่งของ เขตสงครามแปซิฟิกในสงครามโลกครั้งที่สอง

ภาพถ่ายรายละเอียดของการขนศพเชลยศึกชาวอเมริกันและชาวฟิลิปีโน ซึ่งได้มีการใช้เปลห่ามที่ไม่ใช้แล้วเพื่อนำร่างเหล่าสหายที่ล้มตายไปยังค่ายโอดอนเนล, Capas, Tarlac, ค.ศ. 1942, ภายหลังจากเดินขบวนความตายที่บาตาอัน.
วันที่8 ธันวาคม ค.ศ. 1941 – 8 พฤษภาคม ค.ศ. 1942
สถานที่
ฟิลิปปินส์
ผล ญี่ปุ่นได้รับชัยชนะอย่างเด็ดขาด
ดินแดน
เปลี่ยนแปลง
ญี่ปุ่นยึดครองฟิลิปปินส์
คู่สงคราม
 ญี่ปุ่น

 สหรัฐ

ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
จักรวรรดิญี่ปุ่น Masaharu Homma สหรัฐ ดักลาส แมกอาเธอร์
แม่แบบ:Country data Philippine Commonwealth Manuel L. Quezon
สหรัฐ Jonathan Wainwright Surrendered
สหรัฐ George Parker Surrendered
แม่แบบ:Country data Philippine Commonwealth Basilio J. Valdes
กำลัง
129,435 troops[1]
90 tanks
541 aircraft
151,000 troops[2]
108 tanks[3]
277 aircraft[4]
ความสูญเสีย

Japanese source:
11,225

  • 4,130 killed
  • 287 missing
  • 6,808 wounded[5]

Allied estimate:
17,000–19,000

  • 7,000 KIA or WIA
  • 10,000–12,000 dead of disease[6]

146,000

  • 25,000 killed
  • 21,000 wounded
  • 100,000 captured[7]
แม่แบบ:Campaignbox Philippines 1941–1942

แม่แบบ:Campaignbox Pacific 1941 แม่แบบ:Campaignbox South West Pacific

แม่แบบ:Campaignbox South West Pacific theatre

การทัพฟิลิปปินส์ (ฟิลิปปินส์: Kampanya sa Pilipinas หรือ Labanan sa Pilipinas หรือ ยุทธการที่ฟิลิปปินส์; 8 ธันวาคม ค.ศ. 1941 - 8 พฤษภาคม ค.ศ. 1942) เป็นการบุกครองฟิลิปปินส์โดยจักรวรรดิญี่ปุ่นและการป้องกันเกาะโดยสหรัฐอเมริกาและกองทัพฟิลิปีโนในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง

ญี่ปุ่นได้เปิดฉากการบุกครองโดยทางทะเลจากเกาะฟอร์โมซา (เกาะไต้หวัน) กว่า 200 ไมล์ (320 กิโลเมตร) ถึงทางตอนเหนือของฟิลิปปินส์ กองกำลังฝ่ายป้องกันมีจำนวนมากกว่าญี่ปุ่นโดย 3 ต่อ 2 อย่างไรก็ตาม, พวกเขาเป็นกองกำลังผสมของพวกที่ไม่เคยมีประสบการณ์ในการสู้รบอย่างสม่ำเสมอ การ์ดแห่งชาติ กองกำลังตำรวจและหน่วยทหารแห่งเครือจักรภพที่เพิ่งก่อตั้งขึ้นมาใหม่ ญี่ปุ่นได้ใช้กองทหารแถวแรก,เมื่อได้เริ่มต้นของการทัพครั้งนี้และมุ่งเน้นไปที่กองกำลังของพวกเขาทำให้สามารถบุกยึดเกาะลูซอนได้อย่างรวดเร็วในช่วงเดือนแรก

กองบัญชาการระดับสูงของญี่ปุ่น ได้เชื่อว่าพวกเขาจะได้รับชัยชนะในการทัพครั้งนี้ ด้วยการตัดสินใจเชิงยุทธวิธีในการรุกโดยประมาณหนึ่งในตารางเวลาของปฏิบัติการในเกาะบอร์เนียวและอินโดนีเซีย ถอนกำลังด้วยกองพลที่ดีที่สุดและกองทัพอากาศของตนเป็นจำนวนมากในช่วงต้นเดือนมกราคม ค.ศ. 1942 ครั้งนี้,จะควบคู่ไปกับการตัดสินใจของฝ่ายป้องกันที่จะถอนกำลังเข้าสู่การถือครองตำแหน่งการป้องกันในคาบสมุทรบาตาอัน ทำให้อเมริกันและฟิลิปีโนประสบความสำเร็จในการสกัดกั้นในอีก 4 เดือน

การพิชิตฟิลิปปินส์โดยญี่ปุ่น มักถือว่าเป็นความพ่ายแพ้ทางทหารที่เลวร้ายที่สุดในประวัติศาสตร์สหรัฐอเมริกา บุคลากรทางทหารชาวอเมริกันประมาณ 23,000 นายล้วนถูกฆ่าตายหรือถูกจับเป็นเชลย ในขณะที่ทหารชาวฟิลิปีโนถูกฆ่าตายหรือถูกจับเป็นเชลยมีทั้งหมดประมาณ 100,000 นาย

อ้างอิง[แก้]

  1. Reports of General MacArthur เก็บถาวร 2012-09-30 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Order of Battle plate. The total includes all elements of divisions assigned to the 14th Army at some point in the campaign, and replacements. The maximum strength of Japanese ground forces was approx. 100,000. The total does not include 12000+ Army air force personnel, whose totals were drastically reduced after 1 January 1942.
  2. The Fall of the Philippines เก็บถาวร 2012-02-17 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน p. 18. The Philippine Army totalled 120,000 and the Army of the United States 31,000.
  3. The Fall of the Philippines เก็บถาวร 2019-12-16 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, p.33.
  4. The Fall of the Philippines เก็บถาวร 2019-12-16 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, p.42. Total includes 175 fighters and 74 bombers.
  5. Senshi Sōsho (戦史叢書) (ภาษาญี่ปุ่น). Vol. 2. Asagumo Shimbunsha. 1966.
  6. Philippine Islands. Center of Military History, U.S. Army. 3 October 2003. p. 19. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-05-23. สืบค้นเมื่อ 2019-04-01. Since 6 January the Japanese had suffered 7,000 battle casualties, with another 10,000 to 12,000 men dying of disease.
  7. Life Magazine gives a total of 36,583 US/Filipino troops captured 9 April 1942