กองทัพสโลวาเกีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กองทัพสาธารณรัฐสโลวาเกีย
Ozbrojené sily Slovenskej Republiky
ตราราชการกองทัพ
ก่อตั้ง1 มกราคม 1993
เหล่ากองทัพบกสโลวาเกีย
กองทัพอากาศสโลวาเกีย
กองบัญชาการบราติสลาวา, ธงของประเทศสโลวาเกีย สโลวาเกีย
ผู้บังคับบัญชา
ประธานาธิบดี Andrej Kiska
รัฐมนตรีกลาโหมPeter Gajdoš
เสนาธิการกองทัพพลเอก มิลาน แมกซิม
กำลังพล
อายุเริ่มบรรจุ18 ปี
การเกณฑ์พลอาสาสมัคร (ตั้งแต่ พ.ศ. 2549)
ประชากร
วัยบรรจุ
1,413,079, อายุ 15–49
ประชากร
ฉกรรจ์
1,162,282, อายุ 15–49
ประชากรวัยถึงขั้น
ประจำการทุกปี
ca. 20,000
ยอดประจำการ17,000 active soldiers[1] and 4,800 civilians (2016)[2][3][4]
รายจ่าย
งบประมาณ€1,082 billion (2018), include €339 million for military weapons[5][6][7][8][9][10]
ร้อยละต่อจีดีพี1.22 % (2018)
อุตสาหกรรม
แหล่งผลิตนอกประเทศ สหรัฐ[11]
ธงของประเทศอิสราเอล อิสราเอล
ธงของประเทศอิตาลี อิตาลี
ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี
ธงของประเทศเช็กเกีย เช็กเกีย
ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
บทความที่เกี่ยวข้อง
ประวัติประวัติศาสตร์ทางทหารของสโลวาเกีย
ยศยศทหาร
เครื่องอิสริยาภรณ์

กองทัพสาธารณรัฐสโลวาเกีย (สโลวัก: Ozbrojené sily Slovenskej Republiky) เป็นกองกำลังของสโลวาเกีย ประกอบไปด้วย กองทัพบก กองทัพอากาศ และ หน่วยสนับสนุน. กำลังพลทั้งหมด 15,996 นาย และ พลเรือน 3,761 นาย.[12][13] ตั้งแต่ ค.ศ. 1940 - 1989, กองทัพประชาชนเชโกสโลวัก (มีกำลังพลประจำการ 200,000 นาย) เป็นกองกำลังส่วนหนึ่งของกลุ่มกติกาสัญญาวอร์ซอ. ภายหลังการแยกประเทศในปี ค.ศ. 1992 ได้มีการจัดระเบียบส่วนราชการกองทัพให้สอดคล้องสถานการณ์ปัจจุบัน ต่อมาสโลวาเกียได้เข้าร่วมสมาชิกขององค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ เมื่อวันที่ 29 มีนาคม ค.ศ. 2004.[14] ตั้งแต่ ค.ศ. 2006 กองทัพสโลวักได้ยกเลิกระบบการเกณฑ์ทหาร โดยเปลี่ยนไปใช้ระบบพลอาสาสมัคร.[15][16][17]

ประวัติ[แก้]

โครงสร้าง[แก้]

ภารกิจ[แก้]

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

เชิงอรรถ[แก้]

  1. "V armáde SR bude pôsobiť viac vojakov, bude mať aj viac húfnic či BVP". Dnesky.sk. 10 August 2017. สืบค้นเมื่อ 15 December 2017.
  2. Evolution, Heureka (11 September 2016). "V armáde má pôsobiť viac vojakov aj civilných zamestnancov - Hlavné správy". hlavnespravy.sk. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-02-15. สืบค้นเมื่อ 19 March 2017.
  3. "Defence Data". Eda.europa.eu. สืบค้นเมื่อ 24 December 2014.
  4. "National Defence Data 2012 of the EDA participating Member States" (PDF). Eda.europa.eu. สืบค้นเมื่อ 15 December 2017.
  5. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ 2018-03-03.
  6. "NATO Defence Expenditure: 2009 - 2013" 14 August 2014
  7. ""Slovak Military Budget 2014"" (PDF). Mod.gov.sk. สืบค้นเมื่อ 15 December 2017.
  8. ""Slovak Military Budget 2013"" (PDF). Mosr.sk. สืบค้นเมื่อ 15 December 2017.
  9. "Rezort obrany vyčerpal vlani z rozpočtu 725,6 milióna eur". Topky.sk. สืบค้นเมื่อ 24 December 2014.
  10. P E R E X , a. s. "Rozpočet armády sa zvyšovať nebude, tvrdí Fico". Pravda.sk. สืบค้นเมื่อ 24 December 2014.
  11. "Work, Slovakian Defense Minister Review Bilateral Relationship". Defense.gov. สืบค้นเมื่อ 15 December 2017.
  12. "Slovenská armáda v číslach: 475 vojakov nebolo na testoch fyzickej spôsobilosti!". Cas.sk. สืบค้นเมื่อ 24 December 2014.
  13. "Vojakov je menej. Za desať rokov klesol ich počet o 8000". Aktuality.sk. สืบค้นเมื่อ 24 December 2014.
  14. "NATO Update: Seven new members join NATO - 29 March 2004". Nato.int. สืบค้นเมื่อ 24 December 2014.
  15. "kniha o obrane SR 2013"" (PDF). Lt.justice.gov.sk. คลังข้อมูลเก่าเก็บจาก"Biela แหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2013-10-04. สืบค้นเมื่อ 15 December 2017.
  16. "Financial and Economic Data Relating to NATO Defence" (PDF). Nato.int. สืบค้นเมื่อ 15 December 2017.
  17. "Slovenská armáda je v kritickom stave, má to fatálne následky". Komentare.sme.sk. สืบค้นเมื่อ 24 December 2014.

บรรณานุกรม[แก้]

หนังสืออ่านเพิ่ม[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]