กรดซักซินิก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กรดซักซินิก
ชื่อ
IUPAC name
Butanedioic acid
ชื่ออื่น
ethane-1,2-dicarboxylic acid
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
ChEBI
ChEMBL
เคมสไปเดอร์
ดรักแบงก์
ECHA InfoCard 100.003.402 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
เลขอี E363 (antioxidants, ...)
UNII
  • InChI=1S/C4H6O4/c5-3(6)1-2-4(7)8/h1-2H2,(H,5,6)(H,7,8) checkY
    Key: KDYFGRWQOYBRFD-UHFFFAOYSA-N checkY
  • InChI=1/C4H6O4/c5-3(6)1-2-4(7)8/h1-2H2,(H,5,6)(H,7,8)
    Key: KDYFGRWQOYBRFD-UHFFFAOYAC
  • C(CC(=O)O)C(=O)O
คุณสมบัติ
C4H6O4
มวลโมเลกุล 118.088 g·mol−1
ความหนาแน่น 1.56 g/cm3
จุดหลอมเหลว 184 องศาเซลเซียส (363 องศาฟาเรนไฮต์; 457 เคลวิน)[2]
จุดเดือด 235 องศาเซลเซียส (455 องศาฟาเรนไฮต์; 508 เคลวิน)[2]
58 g/L (20 °C) or 100 mg/mL[1]
ความสามารถละลายได้ ใน เมทานอล 158 mg/mL[1]
ความสามารถละลายได้ ใน เอทานอล 54 mg/mL[1]
ความสามารถละลายได้ ใน แอซีโทน 27 mg/mL[1]
ความสามารถละลายได้ ใน กลีเซอรอล 50 mg/mL[1]
ความสามารถละลายได้ ใน อีเทอร์ 8.8 mg/mL[1]
pKa pKa1 = 4.2
pKa2 = 5.6
ความอันตราย
จุดวาบไฟ 206 องศาเซลเซียส (403 องศาฟาเรนไฮต์; 479 เคลวิน)[2]
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
แอนไอออนอื่น ๆ
โซเดียมซักซิเนต
กรดคาร์บอกซิลิกที่เกี่ยวข้อง
กรดโพรพิโอนิก
กรดมาโลนิก
กรดบิวทิริก
กรดมาลิก
กรดทาร์ทาริก
กรดฟูมาริก
กรดวาเลริก
กรดกลูตาริก
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

กรดซักซินิก (อังกฤษ: succinic acid) เป็นกรดไดคาร์บอกซิลิกที่มีสูตรเคมีคือ (CH2)2(CO2H)2 มีลักษณะเป็นของแข็งสีขาวไม่มีกลิ่น เมื่ออยู่ในรูปเอเควียสจะแตกตัวเป็นแอนไอออน เรียกว่า ซักซิเนต (succinate) ซึ่งมีส่วนสำคัญในวัฏจักรกรดซิตริก กลุ่มอนุมูลอิสระของสารนี้เรียกว่า ซักซินิล (succinyl)

คำว่า "ซักซินิก" มาจากคำในภาษาละติน succinum ซึ่งแปลว่า "อำพัน" เพราะในอดีตกรดซักซินิกเป็นสารที่ได้จากการกลั่นอำพัน เรียกว่า "สปิริตออฟแอมเบอร์" (spirit of amber)[3] ในทางอุตสาหกรรมได้จากกระบวนการไฮโดรจีเนชันบางส่วนของกรดมาเลอิก, กระบวนการออกซิเดชันของ 1,4-บิวเทนไดออลและกระบวนการคาร์บอนิเลชันของเอทิลีนไกลคอล[4]

กรดซักซินิกใช้เป็นสารตั้งต้นของพลาสติกบางชนิด[5] ใช้เป็นอาหารเสริมและวัตถุเจือปนอาหาร[6] และเป็นผลิตภัณฑ์หนึ่งที่ได้จากการหมักน้ำตาล ทำให้ไวน์และเบียร์มีรสขมและเค็ม[7]

เนื่องจากกรดซักซินิกเป็นสารที่พบในวัฏจักรของสิ่งมีชีวิตทั่วไป จึงไม่เป็นอันตราย แต่อาจก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนังและดวงตา[8]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 "Product Information Sheet: Succinic Acid" (PDF). Sigma Aldrich. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-11-07. สืบค้นเมื่อ 7 November 2015.
  2. 2.0 2.1 2.2 Record in the GESTIS Substance Database of the Institute for Occupational Safety and Health
  3. Chambers, E., บ.ก. (1728). "Spirit of Amber". Cyclopaedia. p. 75.
  4. Boy Cornils, Peter Lappe. Dicarboxylic Acids, Aliphatic. doi:10.1002/14356007.a08_523.
  5. "สำเนาที่เก็บถาวร" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2015-09-09. สืบค้นเมื่อ 2016-08-03.
  6. http://www.fda.gov/ucm/groups/fdagov-public/@fdagov-foods-gen/documents/document/ucm438683.pdf
  7. Peynaud, Emile (1984). Knowing and Making Wine.
  8. "Safety Data Sheet Bio-Based Succinic Acid". BioAmber Inc. April 23, 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-12-08. สืบค้นเมื่อ 2015-12-03.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]