ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อันดับเหยี่ยว"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8.6
บรรทัด 88: บรรทัด 88:
| accessdate = 2010-03-12
| accessdate = 2010-03-12
| ref = harv
| ref = harv
| archive-date = 2010-03-24
| archive-url = https://web.archive.org/web/20100324114953/http://www.worldbirdnames.org/n-raptors.html
| url-status = dead
}}
}}
* {{cite web
* {{cite web

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:18, 7 มีนาคม 2565

อันดับเหยี่ยว
ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: สมัยอีโอซีน-ปัจจุบัน, 47–0Ma
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Aves
ชั้นฐาน: Neognathae
อันดับ: Accipitriformes
[Louis Jean Pierre Vieillot
วงศ์
แผนที่ความหลากหลายของอันดับเหยี่ยว (258 ชนิด) (จากสีอ่อนไปเข้ม) บ่งบอกถึงความสมบูรณ์ของสายพันธุ์.[1]

อันดับเหยี่ยว[2] (Accipitriformes) เป็นอันดับที่ประกอบด้วยนกล่าเหยื่อเวลากลางวันส่วนมาก เช่น เหยี่ยวนกเขา, อินทรี และ แร้ง มีประมาณ 225 ชนิด ในอดีตจะรวมเหยี่ยวในอันดับ Falconiformes แต่ผู้แต่งบางคนแยกมาไว้ในอันดับ Accipitriformes[3][4][5][6] การศึกษา DNA ในปัจจุบันแสดงว่า เหยี่ยวปีกแหลมไม่ได้เป็นญาติใกล้ชิดกับนกในอันดับ Accipitriformes แต่ใกล้ชิดกับนกแก้วและนกเกาะคอน[7] ตั้งแต่การแบ่งแยก (แต่ก็ไม่ได้วางเหยี่ยวถัดจากนกแก้วหรือนกเกาะคอน) ได้รับการยอมรับโดยคณะกรรมการการการจัดแบ่งประเภทอเมริกาใต้แห่งสมาคมนักปักษีวิทยาแห่งอเมริกา (American Ornithologists' Union) (SACC),[8] คณะกรรมการการจัดแบ่งประเภทอเมริกาเหนือ (NACC),[9] และ การประชุมปักษีนานาชาติ (IOC)[10]

บนพื้นฐานของ DNA และการจัดประเภทของ NACC และ IOC ได้จัดแร้งโลกใหม่ใน Accipitriformes,[7][9] ขณะที่ SACC ได้จัดแร้งโลกใหม่อยู่ในอันดับอื่น [8] การจัดวางแร้งโลกใหม่นั้นยังคงเป็นปัญหามาตั้งแต่ก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 1990

อนุกรมวิธาน

อันดับ Accipitriformes

อ้างอิง

  1. Nagy, Jenő (2020). "Biologia Futura: rapid diversification and behavioural adaptation of birds in response to Oligocene–Miocene climatic conditions" (PDF). Biologia Futura. 71 (1–2): 109–121. doi:10.1007/s42977-020-00013-9.
  2. อันดับเหยี่ยว ดัชนีสิ่งมีชีวิต กลุ่มอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพและสิ่งแวดล้อม
  3. Voous 1973.
  4. Cramp 1980, pp. 3, 277.
  5. Ferguson-Lees & Christie 2001, p. 69.
  6. Christidis & Boles 2008, pp. 50–51.
  7. 7.0 7.1 Hackett et al 2008.
  8. 8.0 8.1 Remsen et al.
  9. 9.0 9.1 Chesser et al. 2010.
  10. Gill & Donsker.

บรรณานุกรม