ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ช่องทางเดิน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8
ZabesBot (คุย | ส่วนร่วม)
บอต: เก็บกวาดลิงก์ข้ามภาษาเก่า
 
บรรทัด 22: บรรทัด 22:
[[หมวดหมู่:ส่วนประกอบของสิ่งก่อสร้าง]]
[[หมวดหมู่:ส่วนประกอบของสิ่งก่อสร้าง]]
[[หมวดหมู่:ห้อง]]
[[หมวดหมู่:ห้อง]]

[[de:Kirchenschiff#Mittelschiff und Seitenschiffe]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 22:49, 3 กุมภาพันธ์ 2565

"ช่องทางเดิน" ของกุดังเก็บสินค้าคอสท์โคที่ซานฟรานซิสโก

ช่องทางเดิน[1] (อังกฤษ: aisle) โดยทั่วไปหมายถึงช่องว่างที่ใช้เป็นทางเดินระหว่างแนวที่นั่ง, ผนัง, แนวแสดงหรือเก็บสินค้า หรืออื่น ๆ ช่องทางเดินอาจจะปรากฏในสถาปัตยกรรมเช่นคริสต์ศาสนสถาน (เช่น ในมหาวิหาร), โรงละคร, ห้องประชุม, ห้องเรียน, ศาล, ซูเปอร์มาร์เก็ต, ตลาด, โรงงาน, รถประจำทาง และอื่น ๆ ในกุดังเก็บสินค้าหรือโรงงานสองข้างของช่องทางเดินอาจจะเป็นชั้นที่ต่อขึ้นสูงสองข้างสำหรับเก็บสินค้า

การจัดวางองค์ประกอบภายในอาคารที่วางสิ่งของหรือเครื่องมือเป็นแนวโดยมีช่องว่างระหว่างแนวที่ใช้เป็นทางเดิน ช่องนี้จะเรียกว่า "ช่องทางเดิน" เช่นในสถานที่สำหรับออกกำลังกายที่จัดเครื่องออกกำลังเป็นแนวแยกกันโดย ช่องทางเดิน

"ช่องทางเดิน" ต่างจาก "ระเบียงทางเดิน" (corridor) หรือโถงทางเดิน (hallway), “ทางเท้า” (footpath/pavement/sidewalk), "ทางเดินนอกสถานที่" (trail) และ "ทาง" (path) หรือ โถงภายในอาคาร (enclosed หรือ open area)

อ้างอิง[แก้]

  1. ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน:Aisle[1] เก็บถาวร 2017-07-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน

ดูเพิ่ม[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ ช่องทางเดิน