ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อุตตม สาวนายน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 29: บรรทัด 29:
| death_date =
| death_date =
| death_place =
| death_place =
| party = [[พรรคพลังประชารัฐ]] (2561–2563)
| party = [[พรรคพลังประชารัฐ]] (2561–2563)<br>[[พรรคสร้างอนาคตไทย|สร้างอนาคตไทย]] (2565-ปัจจุบัน)
| spouse = อิชยา สาวนายน
| spouse = อิชยา สาวนายน
| religion =
| religion =
บรรทัด 115: บรรทัด 115:
[[หมวดหมู่:รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมไทย]]
[[หมวดหมู่:รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมไทย]]
[[หมวดหมู่:พรรคพลังประชารัฐ]]
[[หมวดหมู่:พรรคพลังประชารัฐ]]
[[หมวดหมู่:พรรคสร้างอนาคตไทย]]
[[หมวดหมู่:อธิการบดีมหาวิทยาลัยกรุงเทพ]]
[[หมวดหมู่:อธิการบดีมหาวิทยาลัยกรุงเทพ]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากคณะบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากคณะบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:29, 19 มกราคม 2565

อุตตม สาวนายน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
ดำรงตำแหน่ง
10 กรกฎาคม 2562 – 15 กรกฎาคม 2563
(1 ปี 6 วัน)[1]
นายกรัฐมนตรีพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา
ก่อนหน้าอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์
ถัดไปปรีดี ดาวฉาย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ดำรงตำแหน่ง
19 สิงหาคม 2558 – 12 กันยายน 2559
นายกรัฐมนตรีพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา
ก่อนหน้าพรชัย รุจิประภา
ถัดไปพลอากาศเอก ประจิน จั่นตอง (รักษาการแทน)
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
ดำรงตำแหน่ง
16 ธันวาคม 2559 – 29 มกราคม 2562
(2 ปี 44 วัน)
นายกรัฐมนตรีพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา
ก่อนหน้าอรรชกา สีบุญเรือง
ถัดไปสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ
หัวหน้าพรรคพลังประชารัฐ
ดำรงตำแหน่ง
29 กันยายน 2561 – 27 มิถุนายน 2563
ถัดไปพลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด19 พฤษภาคม พ.ศ. 2503 (63 ปี)
พรรคการเมืองพรรคพลังประชารัฐ (2561–2563)
สร้างอนาคตไทย (2565-ปัจจุบัน)
คู่สมรสอิชยา สาวนายน

อุตตม สาวนายน (19 พฤษภาคม 2503 - ) เป็นนักการเมืองชาวไทย เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม[2] หัวหน้าพรรคพลังประชารัฐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และอธิการบดีมหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ประวัติ

อุตตม สาวนายน เกิดเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2503 เป็นบุตรของนายเล็ก กับนางยาหยี สาวนายน[3] จบประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้นจาก โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จบปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า จากมหาวิทยาลัยบราวน์ สหรัฐอเมริกา ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ (การเงินและธุรกิจระหว่างประเทศ) Kellogg School of Management, มหาวิทยาลัยนอร์ทเวสเทิร์น สหรัฐอเมริกา ปริญญาเอก สาขาบริหารการเงิน School of Management, University of Massachusetts Amherst สหรัฐอเมริกา

ด้านครอบครัว สมรสกับ นางอิชยา สาวนายน โดยไม่มีบุตร-ธิดา

การทำงาน

อุตตม เป็นผู้บริหารสถาบันการเงินเอกชน ต่อมาทำงานเป็นอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา เคยเป็นรองคณบดี ฝ่ายวิชาการและอาจารย์ประจำสาขาการเงิน คณะบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และได้รับแต่งตั้งเป็นอธิการบดีมหาวิทยาลัยกรุงเทพ ในเดือนมิถุนายน 2558 อุตตม เคยเป็นที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง (ดร.สมคิด จาตุศรีพิทักษ์) และผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี[4] ต่อมาในปี พ.ศ. 2558 เขาได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในรัฐบาลของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา[5] แต่ได้ยื่นหนังสือลาออกเมื่อวันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2559[6] เพื่อให้มีการแต่งตั้งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมซึ่งเป็นกระทรวงที่จะจัดตั้งขึ้นใหม่ ภายหลังจากการยื่นลาออกได้รับแต่งตั้งเป็นที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี ในวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2559

ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2559 เขาได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม[7]

ในรัฐบาลพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา เขาได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เป็นกรรมการศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม[7]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง

  1. "ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง รัฐมนตรีลาออก" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี. 2563-07-30. สืบค้นเมื่อ 2563-07-30. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  2. "ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง รัฐมนตรีลาออก" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 5 กุมภาพันธ์ 2562. สืบค้นเมื่อ 29 เมษายน 2563. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  3. "เปิดเผยรายการทรัพย์สินและหนี้สิน นายอุตตม สาวนายน" (PDF). สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ. 29 เมษายน 2563. สืบค้นเมื่อ 29 เมษายน 2563. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)[ลิงก์เสีย]
  4. "ทีมเจรจา FTA ส่อเค้าแพแตก รับหัวหน้าใหม่". สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย. 29 เมษายน 2563. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-08-21. สืบค้นเมื่อ 29 เมษายน 2563. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  5. "ประกาศ ให้รัฐมนตรีพ้นจากความเป็นรัฐมนตรีและแต่งตั้งรัฐมนตรี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 20 สิงหาคม 2558. สืบค้นเมื่อ 29 เมษายน 2563. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  6. "ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง รัฐมนตรีลาออก" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 14 กันยายน 2559. สืบค้นเมื่อ 29 เมษายน 2563. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  7. 7.0 7.1 "ประกาศ ให้รัฐมนตรีพ้นจากความเป็นรัฐมนตรีและแต่งตั้งรัฐมนตรี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 16 ธันวาคม 2559. สืบค้นเมื่อ 29 เมษายน 2563. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  8. ราชกิจจานุเบกษา,ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ประจำปี ๒๕๖๓ หน้า ๒ เล่ม ๑๓๘ ตอนที่พิเศษ ๑ ข, ๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๔
  9. ราชกิจจานุเบกษา,ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ประจำปี ๒๕๖๓ หน้า ๑๓ เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๔๗ ข, ๒๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๐

แหล่งข้อมูลอื่น

ก่อนหน้า อุตตม สาวนายน ถัดไป
อภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
(10 กรกฎาคม 2562 – 15 กรกฎาคม 2563)
ปรีดี ดาวฉาย
อรรชกา สีบุญเรือง ไฟล์:ตรากระทรวงอุตสาหกรรม.png
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
(16 ธันวาคม 2559 – 29 มกราคม 2562)
สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ
พรชัย รุจิประภา
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
(19 สิงหาคม 2558 – 12 กันยายน 2559)
พลอากาศเอกประจิน จั่นตอง (รักษาการแทน)