ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มารศรี อิศรางกูร ณ อยุธยา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nattanan49 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
Nattanan49 (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 41: บรรทัด 41:
* จีรศักดิ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา (เกิด 26 มกราคม พ.ศ. 2489; ถึงแก่กรรมหลัง พ.ศ. 2548)
* จีรศักดิ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา (เกิด 26 มกราคม พ.ศ. 2489; ถึงแก่กรรมหลัง พ.ศ. 2548)
* [[จิระวดี อิศรางกูร ณ อยุธยา]] (เกิด 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2500)
* [[จิระวดี อิศรางกูร ณ อยุธยา]] (เกิด 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2500)

สำหรับละครเวทีที่สร้างชื่อให้กับ มารศรี มากที่สุดคือ ละครเวทีเรื่อง "[[วนิดา]]" (2486) โดยเป็นนักเเสดงหญิงคนเเรกที่รับบทเป็น "วนิดา วงศ์วิบูลย์" หญิงสาวที่ถูกบิดาสั่งจับแต่งงานกับ พันตรีประจักษ์ มหศักดิ์ นายทหารม้าที่ต้องมารับเคราะห์กรรมแทนน้องชาย ที่ติดหนี้กู้เงินจากบิดาของวนิดา จนต้องเกือบถูกฟ้องล้มละลาย ชีวิตของสองหนุ่มสาวต้องตกอยู่ในสภาวะกลืนไม่เข้าคายไม่ออก โดยเฉพาะฝ่ายชายที่มีคนรักและมารดาที่คอยหวงแหนดุจจงอางหวงไข่ ดีว่าหญิงสาวมีกำลังใจที่เข้มแข็งในการพยายามหาข้อเท็จจริง เพื่อลบล้างมลทินย่าของเธอ คือ "คุณหญิงมณฑา" ที่ถูกใส่ร้ายป้ายสีว่าคบชู้ จนต้องระเห็จออกจากบ้านมหศักดิ์ โดยมีประจักษณ์คอยช่วยเหลือด้วยใจยุติธรรมเป็นที่ตั้ง เมื่อละครเวทีได้รับความนิยมลดลง จึงได้ผันตัวจากนักเเสดงละครเวทีเป็นนักเเสดงในภาพยนตร์ เเละละครโทรทัศน์ในเวลาต่อมา โดยเป็นทั้งนักเเสดงนำ นางเอก นางร้าย เเละนักเเสดงสมทบ


== ผลงานการแสดง ==
== ผลงานการแสดง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:50, 11 มกราคม 2565

มารศรี อิศรางกูร ณ อยุธยา
เกิดมารศรี หินลาด
2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2463 (103 ปี)[1]
มณฑลปราจีนบุรี ประเทศสยาม
คู่สมรสหม่อมหลวงรุจิรา อิศรางกูร
บุตร3 คน
อาชีพนักแสดง นักพากย์
ปีที่แสดงพ.ศ. 2482–2555
รางวัล
ศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง (ภาพยนตร์และละคร นักแสดง-นักพากย์) (2542)
สุพรรณหงส์นักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม
2529 — โอวตี่
ชมรมวิจารณ์บันเทิงเกียรติคุณแห่งความสำเร็จ (2559)
โทรทัศน์ทองคำรางวัลเกียรติยศคนทีวี (2548)
ฐานข้อมูล
IMDb

มารศรี อิศรางกูร ณ อยุธยา (เกิด 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2463[1]) เป็นนักแสดงหญิงอาวุโสและนักพากย์ภาพยนตร์อาวุโสชาวไทย ได้รับคัดเลือกให้เป็น ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ประจำปี พ.ศ. 2542

มารศรี เริ่มเข้าสู่วงการบันเทิงจากการเป็นนักเเสดงตลกจำอวดขณะอายุได้ 17 ปี ร่วมกับอบ บุญติด, ดอกดิน กัญญามาลย์, สุคนธ์ คิ้วเหลี่ยม และ สมควร กระจ่างศาสตร์ ในยุคละครเวทีสมัยเฟื่องฟู ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ต่อมาสมรสกับหม่อมหลวงรุจิรา อิศรางกูร และได้ทำงานเป็นนักพากย์ภาพยนตร์ในชื่อ "รุจิรา - มารศรี" เป็นคู่นักพากย์ที่มีชื่อเสียงและเป็นที่นิยมของผู้ชมภาพยนตร์มายาวนานร่วมครึ่งศตวรรษ ก่อนจะมาผันตัวเป็นนักเเสดงในภาพยนตร์เเละละครโทรทัศน์ในเวลาต่อมา

สำหรับละครเวทีที่สร้างชื่อให้กับ มารศรี มากที่สุดคือ ละครเวทีเรื่อง "วนิดา" (2486) โดยเป็นนักเเสดงหญิงคนเเรกที่รับบทเป็น "วนิดา วงศ์วิบูลย์" เมื่อละครเวทีได้รับความนิยมลดลง จึงได้ผันตัวจากนักเเสดงละครเวทีเป็นนักเเสดงในภาพยนตร์ เเละละครโทรทัศน์ในเวลาต่อมา โดยเป็นทั้งนักเเสดงนำ นางเอก นางร้าย เเละนักเเสดงสมทบ

โดยผลงานภาพยนตร์ที่สร้างชื่อเสียงได้เเก่ บาปทรมาน (2493), วนิดา (2496), สายโลหิต (2500), เงิน เงิน เงิน (2508), โสนน้อยเรือนงาม (2509), ล่าพยาบาท (2510), เกาะสวาทหาดสวรรค์ (2512), พิษพยาบาท (2516), มัจจุราชสีน้ำผึ้ง (2517), พจมาน สว่างวงศ์ (2523), สุดปรารถนา (2524) เเละ สุริโยไท (2544) เเละละครโทรทัศน์ เช่น เเผลเก่า (2507), พระเจ้าอชาตศัตรู (2510), คมพยาบาท (2512), ริษยา (2516,2525), ดวงตาสวรรค์ (2521), สามีตีตรา (2531) เป็นต้น

มารศรี อิศรางกูร ณ อยุธยา ได้รางวัลต่างๆ เช่น ศิลปินเเห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ภาพยนตร์และละคร นักแสดง-นักพากย์) ประจำปี 2542 ก่อนที่จะหยุดพักออกจากการเเสดงเนื่องด้วยอายุเเละสุขภาพ ในปี 2555

ประวัติ

มารศรี เกิดเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2463[1] (แต่ข้อมูลโดยกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ระบุเกิดเมื่อ 2 มกราคม พ.ศ. 2465)[2] ที่มณฑลปราจีนบุรี บิดาชื่อผัน หินลาด มารดาชื่อลม่อม หินลาด[3] เริ่มเข้าสู่วงการบันเทิงจากการเป็นดาราตลกจำอวดขณะอายุ 17 ปี ร่วมกับอบ บุญติด, ดอกดิน กัญญามาลย์, สุคนธ์ คิ้วเหลี่ยม และ สมควร กระจ่างศาสตร์[4] ในยุคละครเวทีสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง[5] ต่อมาสมรสกับหม่อมหลวงรุจิรา อิศรางกูร และได้ทำงานเป็นนักพากย์ภาพยนตร์ในชื่อ "รุจิรา - มารศรี"[6] เป็นคู่นักพากย์ที่มีชื่อเสียงและเป็นที่นิยมของผู้ชมภาพยนตร์มายาวนานร่วมครึ่งศตวรรษ ชีวิตครอบครัว มีบุตร-ธิดาสามคน และอยู่ในวงการบันเทิง[5] ได้แก่

สำหรับละครเวทีที่สร้างชื่อให้กับ มารศรี มากที่สุดคือ ละครเวทีเรื่อง "วนิดา" (2486) โดยเป็นนักเเสดงหญิงคนเเรกที่รับบทเป็น "วนิดา วงศ์วิบูลย์" หญิงสาวที่ถูกบิดาสั่งจับแต่งงานกับ พันตรีประจักษ์ มหศักดิ์ นายทหารม้าที่ต้องมารับเคราะห์กรรมแทนน้องชาย ที่ติดหนี้กู้เงินจากบิดาของวนิดา จนต้องเกือบถูกฟ้องล้มละลาย ชีวิตของสองหนุ่มสาวต้องตกอยู่ในสภาวะกลืนไม่เข้าคายไม่ออก โดยเฉพาะฝ่ายชายที่มีคนรักและมารดาที่คอยหวงแหนดุจจงอางหวงไข่ ดีว่าหญิงสาวมีกำลังใจที่เข้มแข็งในการพยายามหาข้อเท็จจริง เพื่อลบล้างมลทินย่าของเธอ คือ "คุณหญิงมณฑา" ที่ถูกใส่ร้ายป้ายสีว่าคบชู้ จนต้องระเห็จออกจากบ้านมหศักดิ์ โดยมีประจักษณ์คอยช่วยเหลือด้วยใจยุติธรรมเป็นที่ตั้ง เมื่อละครเวทีได้รับความนิยมลดลง จึงได้ผันตัวจากนักเเสดงละครเวทีเป็นนักเเสดงในภาพยนตร์ เเละละครโทรทัศน์ในเวลาต่อมา โดยเป็นทั้งนักเเสดงนำ นางเอก นางร้าย เเละนักเเสดงสมทบ

ผลงานการแสดง

มารศรีมีผลงานการแสดงทั้งแนวชีวิตและแนวชวนหัว กับงานพากย์ภาพยนตร์ตั้งแต่ยุค 16 มม.จนถึงยุคหนังสโคป 35 มม. เช่น สายโลหิต, ผู้ชนะสิบทิศ, เป็ดน้อย (ไม่ใส่เครดิตร่วมแสดง), เกาะสวาทหาดสวรรค์, มันมากับความมืด, เขาชื่อกานต์, โอวตี่, เครือฟ้า และอีกหลายเรื่องเป็นผู้พากย์เสียงลงฟิล์ม เช่น ละครเร่ รวมทั้งงานแสดงละครโทรทัศน์ที่มีชื่อเสียง เช่น คมพยาบาท (ทางช่อง 4 บางขุนพรหม เมื่อพ.ศ. 2512)[7] จนถึงปัจจุบัน

ได้รับรางวัลนักแสดงหญิงยอดเยี่ยม รางวัลสุพรรณหงส์ทองคำ ครั้งที่ 6 ประจำปีพ.ศ. 2529 จากเรื่อง โอวตี่[6] และการเชิดชูเกียรติในฐานะศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ประจำปีพ.ศ. 2542[3] และรางวัลเกียรติยศคนทีวี จัดโดยรางวัลโทรทัศน์ทองคำ ประจำปีพ.ศ. 2548 ร่วมกับ พิชัย วาสนาส่งและสินีนาฏ โพธิเวส[8]

ละครเวที

  • พ.ศ. 2485-2497: นักแสดงละครเวทีที่ได้รับความนิยมมาก
  • พ.ศ. 2485 : วนิดา รับบท วนิดา
  • พ.ศ. 2490 : ลานอโศก
  • พ.ศ. 2492 : ขุนวรวงศา
  • พ.ศ. 2494 : นางบุญใจบาป
  • พ.ศ. 2495 : คุณหญิงพวงแข
  • พ.ศ. 2496 : ล่องอเวจี(สาวเวียงฟ้า) รับบทเป็น ฟ้างาม/ฟองจันทร์

ฯลฯ

ภาพยนตร์

  • พ.ศ. 2493 : บาปทรมาน
  • พ.ศ. 2494 : พี่ชาย
  • พ.ศ. 2496 : วนิดา
  • พ.ศ. 2496 : ฟ้ามุ่ย
  • พ.ศ. 2497 : หนูจ๋า
  • พ.ศ. 2497 : คำสั่งสาป
  • พ.ศ. 2498 : ขวัญใจคนจน
  • พ.ศ. 2498 : เมียแก้ว
  • พ.ศ. 2498 : หญิงสามผัว
  • พ.ศ. 2498 : ทาษเทวี
  • พ.ศ. 2498 : ห้วงรักเหวลึก
  • พ.ศ. 2499 : สุดสายใจ
  • พ.ศ. 2500 : สายโลหิต
  • พ.ศ. 2517 : อย่ารักฉัน
  • พ.ศ. 2501 : เทวรูปหยก
  • พ.ศ. 2505 : นันทาวดี
  • พ.ศ. 2508 : เงิน เงิน เงิน
  • พ.ศ. 2509 : โสนน้อยเรือนงาม
  • พ.ศ. 2509 : ผู้ชนะสิบทิศ ตอน ยอดขุนพล
  • พ.ศ. 2510 : ไทรโศก
  • พ.ศ. 2510 : ล่าพยาบาท
  • พ.ศ. 2510 : ผู้ชนะสิบทิศ ตอน บุเรงนองถล่มหงสาวดี
  • พ.ศ. 2510 : ผู้ชนะสิบทิศ ตอน บุเรงนองลั่นกลองรบ
  • พ.ศ. 2510 : สิงห์สองแผ่นดิน
  • พ.ศ. 2511 : เป็ดน้อย
  • พ.ศ. 2511 : พระลอ
  • พ.ศ. 2511 : เรือจ้าง
  • พ.ศ. 2511 : สีดา
  • พ.ศ. 2511 : ลาวแพน
  • พ.ศ. 2512 : ไทยน้อย
  • พ.ศ. 2512 : เจ้าหญิง
  • พ.ศ. 2512 : เกาะสวาทหาดสวรรค์
  • พ.ศ. 2512 : ดาวรุ่ง
  • พ.ศ. 2512 : ขวัญหล้า
  • พ.ศ. 2512 : แสงเดือน
  • พ.ศ. 2513 : บ้านสาวโสด
  • พ.ศ. 2513 : เรารักกันไม่ได้
  • พ.ศ. 2513 : แม่นาคพระนคร
  • พ.ศ. 2513 : จอมโจรมเหศวร
  • พ.ศ. 2513 : อีสาวบ้านไร่
  • พ.ศ. 2513 : รักนิรันดร์
  • พ.ศ. 2513 : จุ๊บแจง
  • พ.ศ. 2514 : คนึงหา
  • พ.ศ. 2514 : แม่นม
  • พ.ศ. 2514 : ยั่วรัก
  • พ.ศ. 2514 : พิษผยอง
  • พ.ศ. 2514 : ปานจันทร์
  • พ.ศ. 2514 : โฉมตรูภูธร
  • พ.ศ. 2514 : กว่าจะรักกันได้
  • พ.ศ. 2514 : น้องนางบ้านนา
  • พ.ศ. 2514 : มันมากับความมืด
  • พ.ศ. 2514 : แก้วขนเหล็ก
  • พ.ศ. 2514 : จอมเจ้าชู้
  • พ.ศ. 2514 : ดวงใจสวรรค์
  • พ.ศ. 2514 : ทะโมนไพร
  • พ.ศ. 2514 : วิวาห์พาฝัน
  • พ.ศ. 2514 : โกรธกันทำไม
  • พ.ศ. 2515 : วิวาห์ลูกทุ่ง
  • พ.ศ. 2515 : แควเสือ
  • พ.ศ. 2515 : เจ้าลอย
  • พ.ศ. 2515 : หยาดฝน
  • พ.ศ. 2515 : ระเริงชล
  • พ.ศ. 2515 : รักต้องห้าม
  • พ.ศ. 2515 : มนต์รักดอกคำใต้
  • พ.ศ. 2515 : ลูกสาวนายพล
  • พ.ศ. 2515 : สุดสายป่าน
  • พ.ศ. 2515 : แม่อายสะอื้น
  • พ.ศ. 2515 : แม่เนื้อทอง
  • พ.ศ. 2515 : ขวัญใจลูกทุ่ง
  • พ.ศ. 2515 : กว๊านพะเยา
  • พ.ศ. 2516 : สาวภูไท
  • พ.ศ. 2516 : เด่นดวงเดือน
  • พ.ศ. 2516 : แก้วตาขวัญใจ
  • พ.ศ. 2516 : ภูกระดึง
  • พ.ศ. 2516 : สักขีแม่ปิง
  • พ.ศ. 2516 : ไม้ป่า
  • พ.ศ. 2516 : สายชล
  • พ.ศ. 2516 : มารรัก
  • พ.ศ. 2516 : ซำเหมา
  • พ.ศ. 2516 : เหลือแต่รัก
  • พ.ศ. 2516 : เขาชื่อกานต์
  • พ.ศ. 2516 : แหวนทองเหลือง
  • พ.ศ. 2516 : เจ้าปลิวสิงห์สุพรรณ
  • พ.ศ. 2516 : ผาเวียงทอง
  • พ.ศ. 2516 : สุดหัวใจ
  • พ.ศ. 2516 : พิษพยาบาท
  • พ.ศ. 2517 : โสมสลัว
  • พ.ศ. 2517 : นี่หรือผู้หญิง
  • พ.ศ. 2517 : อาถรรพ์สวาท
  • พ.ศ. 2517 : ด้วยปีกของรัก
  • พ.ศ. 2517 : อย่ารักฉัน
  • พ.ศ. 2517 : นางร้อยชื่อ
  • พ.ศ. 2517 : เจ้าดวงดอกไม้
  • พ.ศ. 2517 : ดอกคูนเสียงแคน
  • พ.ศ. 2517 : มัจจุราชสีน้ำผึ้ง
  • พ.ศ. 2517 : บุษบาขายรัก
  • พ.ศ. 2517 : พ่อจอมโวย
  • พ.ศ. 2517 : คุณครูที่รัก
  • พ.ศ. 2517 : แม่
  • พ.ศ. 2518 : เผ็ด
  • พ.ศ. 2518 : หนี้รัก
  • พ.ศ. 2518 : ลูกผู้ชาย
  • พ.ศ. 2518 : ไฟรักสุมทรวง
  • พ.ศ. 2518 : คำมั่นสัญญา
  • พ.ศ. 2518 : มาหยารัศมี
  • พ.ศ. 2518 : เพื่อเธอที่รัก
  • พ.ศ. 2518 : หัวใจราชสีห์
  • พ.ศ. 2519 : นางงูเห่า
  • พ.ศ. 2519 : สันติ-วีณา
  • พ.ศ. 2519 : เทวดาเดินดิน
  • พ.ศ. 2519 : มือปืนขี้แย
  • พ.ศ. 2519 : กบฎหัวใจ
  • พ.ศ. 2519 : บ้องไฟ
  • พ.ศ. 2519 : เพลิงแพร
  • พ.ศ. 2519 : ชาติอาชาไนย
  • พ.ศ. 2519 : ความรักสีดำ
  • พ.ศ. 2519 : ดับสุริยา
  • พ.ศ. 2519 : วัยอลวน
  • พ.ศ. 2519 : อสูรสวาท
  • พ.ศ. 2519 : น้ำตาหยดสุดท้าย
  • พ.ศ. 2519 : บ่อเพลิงที่โพทะเล
  • พ.ศ. 2520 : ทองพูน โคกโพ ราษฎรเต็มขั้น
  • พ.ศ. 2520 : อย่าลืมฉัน
  • พ.ศ. 2520 : ไอ้ตีนโต
  • พ.ศ. 2520 : ล่า
  • พ.ศ. 2520 : 3 นัด
  • พ.ศ. 2520 : ชื่นชีวานาวี
  • พ.ศ. 2520 : แม่ดอกกัญชา
  • พ.ศ. 2520 : ปล้นอเมริกา
  • พ.ศ. 2521 : บุษบาก๋ากั่น
  • พ.ศ. 2521 : เลือดในดิน
  • พ.ศ. 2521 : ทีเด็ดคู่เขย
  • พ.ศ. 2521 : หัวใจกุ๊กกิ๊ก
  • พ.ศ. 2521 : วัยรัก
  • พ.ศ. 2521 : แรกรัก
  • พ.ศ. 2521 : ดวงเศรษฐี
  • พ.ศ. 2521 : เหนือกว่ารัก
  • พ.ศ. 2521 : นักล่าผาทอง
  • พ.ศ. 2521 : พ่อเสือลูกสิงห์
  • พ.ศ. 2521 : กาม
  • พ.ศ. 2521 : รักระแวง
  • พ.ศ. 2521 : กุญแจรัก
  • พ.ศ. 2522 : สามคนผัวเมีย
  • พ.ศ. 2522 : แม่เขียวหวาน
  • พ.ศ. 2522 : สลักจิต
  • พ.ศ. 2522 : หัวใจวิปริต
  • พ.ศ. 2522 : แม่ค้าขายผัก
  • พ.ศ. 2522 : เพียงคำเดียว
  • พ.ศ. 2523 : ละอองดาว
  • พ.ศ. 2523 : ซาตานที่รัก
  • พ.ศ. 2523 : รุ้งเพชร
  • พ.ศ. 2523 : เครือฟ้า
  • พ.ศ. 2523 : สิงห์แม่น้ำแคว
  • พ.ศ. 2523 : พจมาน สว่างวงศ์
  • พ.ศ. 2523 : สู้อย่างสิงห์
  • พ.ศ. 2523 : ผัวนอกคอก
  • พ.ศ. 2523 : ช้ำเพราะรัก
  • พ.ศ. 2523 : หนึ่งน้องนางเดียว
  • พ.ศ. 2524 : กามนิต วาสิฎฐี
  • พ.ศ. 2524 : ดิน น้ำ ลม ไฟ
  • พ.ศ. 2524 : สุดทางรัก
  • พ.ศ. 2524 : สุดปรารถนา
  • พ.ศ. 2524 : ค่าของคน
  • พ.ศ. 2524 : วันที่แม่รอ
  • พ.ศ. 2524 : สวัสดีคนสวย
  • พ.ศ. 2524 : รักโอ้รัก
  • พ.ศ. 2524 : ใครกำหนด
  • พ.ศ. 2524 : ดอกฟ้าและโดมผู้จองหอง
  • พ.ศ. 2525 : ปริศนา
  • พ.ศ. 2525 : เล็บครุฑ 78
  • พ.ศ. 2525 : แม่หอยหลอด
  • พ.ศ. 2525 : แววมยุรา
  • พ.ศ. 2525 : แรงรัก
  • พ.ศ. 2525 : น้ำพริกก้นถ้วย
  • พ.ศ. 2525 : นี่หรือมนุษย์
  • พ.ศ. 2525 : นางแมวป่า
  • พ.ศ. 2526 : ขุนโจร 5 นัด
  • พ.ศ. 2526 : แม่กระชังก้นรั่ว
  • พ.ศ. 2526 : หัวใจทมิฬ
  • พ.ศ. 2526 : สาวแดดเดียว
  • พ.ศ. 2526 : ไฟรักอสูร
  • พ.ศ. 2527 : ครูเสือ
  • พ.ศ. 2527 : เสือลากหาง
  • พ.ศ. 2527 : ลูกทุ่งพเนจร
  • พ.ศ. 2527 : ดาวประดับบ่า
  • พ.ศ. 2527 : ฟ้าบันดาล
  • พ.ศ. 2527 : รัศมีแข
  • พ.ศ. 2527 : ลวดหนาม
  • พ.ศ. 2527 : ช่างร้ายเหลือ
  • พ.ศ. 2527 : วันนั้นคงมาถึง
  • พ.ศ. 2528 : คุณหญิงตราตั้ง
  • พ.ศ. 2528 : ปางรัก
  • พ.ศ. 2528 : หัวใจเถื่อน
  • พ.ศ. 2528 : ข้างหลังภาพ
  • พ.ศ. 2529 : โอวตี่
  • พ.ศ. 2529 : แสงสูรย์
  • พ.ศ. 2529 : เกมมหาโชค
  • พ.ศ. 2529 : เครื่องแบบสีขาว
  • พ.ศ. 2530 : ปรารถนาแห่งหัวใจ
  • พ.ศ. 2530 : ฆ่าปิดปาก
  • พ.ศ. 2531 : หมอกสวาท
  • พ.ศ. 2533 : เก่งจริงนะแม่คุณ
  • พ.ศ. 2533 : โอวตี่ 2
  • พ.ศ. 2533 : พรุ่งนี้ฉันจะรักคุณ
  • พ.ศ. 2534 : เดี๋ยวเล็ก เดี๋ยวใหญ่
  • พ.ศ. 2536 : สบายบรื๋อ 2 ตอน บรื๋อเบิกบาน
  • พ.ศ. 2537 : แม่นาคพระโขนง
  • พ.ศ. 2537 : กาเหว่าที่บางเพลง
  • พ.ศ. 2539 : คู่กรรม 2
  • พ.ศ. 2541 : กล่อง
  • พ.ศ. 2544 : สุริโยไท
  • พ.ศ. 2549 : นาค รักแท้ วิญญาณ ความตาย
  • พ.ศ. 2549 : ข้าวเหนียวหมูปิ้ง

ละครโทรทัศน์

  • พ.ศ. 2507: แผลเก่า
  • พ.ศ. 2510 : พระเจ้าอชาตศัตรู
  • พ.ศ. 2512 : คมพยาบาท
  • พ.ศ. 2514 : ใจแม่
  • พ.ศ. 2516 : ริษยา
  • พ.ศ. 2518 : ตะวันขึ้นที่อ่าวพังงา
  • พ.ศ. 2519 : ปมด้อย
  • พ.ศ. 2520 : รักในสายหมอก
  • พ.ศ. 2520 : เรือนรุ้งระลึกชาติ
  • พ.ศ. 2521 : ดวงตาสวรรค์
  • พ.ศ. 2521 : เมียจำเป็น
  • พ.ศ. 2522 : มนต์ดำ
  • พ.ศ. 2524 : จิตไม่ว่าง 24
  • พ.ศ. 2524 : สลักจิต
  • พ.ศ. 2524 : มายา
  • พ.ศ. 2524 : ความรักแสนกล
  • พ.ศ. 2524 : เพลงชีวิต
  • พ.ศ. 2525 : ริษยา
  • พ.ศ. 2525 : ผู้ชายในอดีต รับเชิญ
  • พ.ศ. 2525 : ไฟหนาว
  • พ.ศ. 2526 : คุณยายกายสิทธิ์
  • พ.ศ. 2526 : คนเดินดิน
  • พ.ศ. 2526 : รักไม่มีช่องว่าง
  • พ.ศ. 2526 : อีแตน
  • พ.ศ. 2526 : จนกว่า...จะถึงวันนั้น
  • พ.ศ. 2526 : พิษอารมณ์
  • พ.ศ. 2526 : ทุ่งทองกวาว
  • พ.ศ. 2527 : คอนโดมิเนียม
  • พ.ศ. 2527 : ลานภุมรา
  • พ.ศ. 2527 : แผลหัวใจ
  • พ.ศ. 2528 : ลูกผู้ชายไม้ตะพด
  • พ.ศ. 2528 : เบญจรงค์ห้าสี รับเชิญ
  • พ.ศ. 2528 : กตัญญูพิศวาส
  • พ.ศ. 2528 : ตี๋ใหญ่
  • พ.ศ. 2528 : ค่าของคน
  • พ.ศ. 2529 : มาเฟียซาอุ
  • พ.ศ. 2529 : กุหลาบไร้หนาม
  • พ.ศ. 2529 : เปรต
  • พ.ศ. 2529 : โผน กิ่งเพชร
  • พ.ศ. 2529 : วังไวกูณฑ์
  • พ.ศ. 2529 : วัยซน
  • พ.ศ. 2530 : ปริศนา รับเชิญ
  • พ.ศ. 2530 : ตะวันขึ้นที่อ่าวพังงา
  • พ.ศ. 2530 : ซูซี่ ซิงซิง
  • พ.ศ. 2530 : สกาวเดือน
  • พ.ศ. 2531 : สามีตีตรา
  • พ.ศ. 2531 : เวิ้งระกำ
  • พ.ศ. 2531 : คนเริงเมือง
  • พ.ศ. 2531 : เจ้าสาวของอานนท์
  • พ.ศ. 2531 : มายา
  • พ.ศ. 2531 : บ้านของพรุ่งนี้
  • พ.ศ. 2532 : เมียหลวง
  • พ.ศ. 2532 : สมการวัย
  • พ.ศ. 2532 : เพื่อนผมชื่อสมปอง
  • พ.ศ. 2533 : แม่มดแจ๋วแหวว
  • พ.ศ. 2533 : ข้าวนอกนา
  • พ.ศ. 2533 : วงศาคณาญาติ
  • พ.ศ. 2533 : ล่องเรือหารัก
  • พ.ศ. 2533 : บัวแล้งน้ำ
  • พ.ศ. 2533 : ขมิ้นกับปูน รับเชิญ
  • พ.ศ. 2535 : มะกอกเทวดา
  • พ.ศ. 2535 : บ่วง
  • พ.ศ. 2535 : ทางโค้ง
  • พ.ศ. 2535 : ลางรัก
  • พ.ศ. 2535 : ตราบดินสิ้นฟ้า
  • พ.ศ. 2535 : จะไม่มีช่องว่างระหว่างเรา
  • พ.ศ. 2535 : อรุณสวัสดิ์
  • พ.ศ. 2535 : ไผ่ลอดกอ
  • พ.ศ. 2536 : ลิขิตชีวิต
  • พ.ศ. 2536 : ภูติสาวเจ้าเสน่ห์
  • พ.ศ. 2536 : นักข่าวหัวเห็ด
  • พ.ศ. 2536 : เงารัก
  • พ.ศ. 2536 : เรือนแรม
  • พ.ศ. 2536 : ภูตพยาบาท
  • พ.ศ. 2536 : เทพบุตรสุดเวหา รับเชิญ
  • พ.ศ. 2536 : คนละโลก
  • พ.ศ. 2536 : วันนี้ที่รอคอย
  • พ.ศ. 2537 : ล่า รับเชิญ
  • พ.ศ. 2537 : ความฝันที่ถูกทำลาย
  • พ.ศ. 2537 : แสงสูรย์
  • พ.ศ. 2537 : เพลิงสีรุ้ง
  • พ.ศ. 2537 : คลื่นชีวิต รับเชิญ
  • พ.ศ. 2537 : เพลิงรัก เพลิงแค้น
  • พ.ศ. 2538 : ร่มฉัตร
  • พ.ศ. 2538 : เสราดารัล
  • พ.ศ. 2538 : เงาราหู
  • พ.ศ. 2538 : ปราสาทสีขาว
  • พ.ศ. 2538 : นางอาย
  • พ.ศ. 2538 : ผู้ใหญ่ลีกับนางมา รับเชิญ
  • พ.ศ. 2538 : มนต์รักลูกทุ่ง รับเชิญ
  • พ.ศ. 2539 : บ้านสอยดาว
  • พ.ศ. 2539 : ดารายัณ
  • พ.ศ. 2539 : ดั่งดวงหฤทัย
  • พ.ศ. 2540 : เรือนมยุรา รับเชิญ
  • พ.ศ. 2540 : ทานตะวัน
  • พ.ศ. 2540 : บิ๊กเสี่ย
  • พ.ศ. 2540 : กระท่อมไม้ไผ่
  • พ.ศ. 2540 : นางสาวไม่จำกัดนามสกุล
  • พ.ศ. 2540 : แก้วจอมแก่น
  • พ.ศ. 2541 : จากฝันสู่นิรันดร รับเชิญ
  • พ.ศ. 2541 : สุรพล(คนจริง) สมบัติเจริญ รับเชิญ
  • พ.ศ. 2542 : โดดเดี่ยวไม่เดียวดาย
  • พ.ศ. 2542 : เสน่ห์นางงิ้ว
  • พ.ศ. 2542 : โดมทอง
  • พ.ศ. 2542 : ดาวกลางดง รับเชิญ
  • พ.ศ. 2543 : ใต้ร่มไม้เลื้อย เรือนศิรา
  • พ.ศ. 2543 : มัสยา
  • พ.ศ. 2543 : มิติใหม่ หัวใจเดิม
  • พ.ศ. 2543 : พันท้ายนรสิงห์
  • พ.ศ. 2543 : ดุจฟ้าไร้ดาว
  • พ.ศ. 2543 : แม่ย่านาง รับเชิญ
  • พ.ศ. 2543 : รักทะเล้น
  • พ.ศ. 2544 : กากเพชร
  • พ.ศ. 2544 : นายฮ้อยทมิฬ
  • พ.ศ. 2544 : โนราห์
  • พ.ศ. 2544 : พี่เลี้ยงกึ่งสำเร็จรูป
  • พ.ศ. 2544 : ต้นรัก
  • พ.ศ. 2544 : เรือนนพเก้า
  • พ.ศ. 2544 : ไฟกามเทพ
  • พ.ศ. 2544 : ซิงตึ๊ง
  • พ.ศ. 2545 : ผู้กองยอดรัก
  • พ.ศ. 2545 : ใครกำหนด
  • พ.ศ. 2545 : บ่วงบรรจถรณ์
  • พ.ศ. 2545 : สู่ฝันตะบันแข้ง
  • พ.ศ. 2545 : วัยร้ายเฟรชชี่
  • พ.ศ. 2546 : พุทธานุภาพ รับเชิญ
  • พ.ศ. 2546 : วิมานดิน
  • พ.ศ. 2546 : ทีเด็ด ครูพันธุ์ใหม่จิตพิสัยเดือด
  • พ.ศ. 2548 : โสดสโมสร ตอน บ้านนี้ไม่มีแมลง
  • พ.ศ. 2548 : วีรบุรุษกองขยะ
  • พ.ศ. 2549 : อมฤตาลัย
  • พ.ศ. 2550 : ตุ๊กตาเริงระบำ
  • พ.ศ. 2552 : พยัคฆ์ยี่เก
  • พ.ศ. 2553 : เหนือเมฆ
  • พ.ศ. 2555 : รักออกอากาศ ช่อง 3

รางวัล

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 1.2 ชื่นมื่นลูก-หลาน ยกเค้กฉลองวันเกิด 100 ปี “คุณยายมารศรี”
  2. "คำประกาศเกียรติคุณ". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-10-27. สืบค้นเมื่อ 2021-10-27.
  3. 3.0 3.1 "ประวัติศิลปินแห่งชาติ". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-05. สืบค้นเมื่อ 2008-01-01.
  4. กิจกรรมลานดารา หอภาพยนตร์ชาติ (องค์การมหาชน)
  5. 5.0 5.1 "ประวัติจาก thaifilm.com". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-08-24. สืบค้นเมื่อ 2008-01-01.
  6. 6.0 6.1 ประวัติ นางมารศรี อิศรางกูร ณ อยุธยา เก็บถาวร 2005-05-19 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน นิตยสารสกุลไทย ฉบับที่ 2383 ปีที่ 46 ประจำวันอังคารที่ 20 มิถุนายน 2543 โดย นายนิติกร กรัยวิเชียร
  7. อารีย์ นักดนตรี, โลกมายาของอารีย์, กายมารุต, 2546 ISBN 974-91018-4-7 หน้า 397-405
  8. "ผลรางวัลโทรทัศน์ทองคำ ประจำปี 2548". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-10-20. สืบค้นเมื่อ 2008-01-01.
  9. "ฟรีแลนซ์ฯ"คว้าหนังเยี่ยม รางวัลชมรมวิจารณ์บันเทิง dailynews.co.th
  10. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ ในวโรกาสพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา วันที่ 5 ธันวาคม 2543 เล่ม 117, ตอน 26 ข, 21 ธันวาคม 2543, หน้า 22.

แหล่งข้อมูลอื่น