ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฮีโมโกลบิน อี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
 
บรรทัด 6: บรรทัด 6:
==ฮีโมโกลบินอี/[[เบต้าทาลัสซีเมีย]]==
==ฮีโมโกลบินอี/[[เบต้าทาลัสซีเมีย]]==
ผู้ป่วยที่มีฮีโมโกลบินอี/เบต้า[[ทาลัสซีเมีย]] จะได้รับยีนฮีโมโกลบินอีชุดหนึ่งจากพ่อหรือแม่คนหนึ่ง และยีนเบต้าทาลัสซีเมียจากอีกคนหนึ่ง ฮีโมโกลบินอี/เบต้าทาลัสซีเมียเป็นโรคที่มีอาการรุนแรง ซึ่งปัจจุบันยังไม่มีวิธีรักษาให้หายขาด มีผู้ป่วยกว่าหนึ่งล้านคนทั่วโลก หากไม่ได้รับการรักษาผู้ป่วยอาจมีหัวใจวาย ตับโต กระดูกผิดปกติ และอื่นๆ
ผู้ป่วยที่มีฮีโมโกลบินอี/เบต้า[[ทาลัสซีเมีย]] จะได้รับยีนฮีโมโกลบินอีชุดหนึ่งจากพ่อหรือแม่คนหนึ่ง และยีนเบต้าทาลัสซีเมียจากอีกคนหนึ่ง ฮีโมโกลบินอี/เบต้าทาลัสซีเมียเป็นโรคที่มีอาการรุนแรง ซึ่งปัจจุบันยังไม่มีวิธีรักษาให้หายขาด มีผู้ป่วยกว่าหนึ่งล้านคนทั่วโลก หากไม่ได้รับการรักษาผู้ป่วยอาจมีหัวใจวาย ตับโต กระดูกผิดปกติ และอื่นๆ
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
[[หมวดหมู่:ฮีโมโกลบิน]]
[[หมวดหมู่:ฮีโมโกลบิน]]
{{hemeproteins}}
{{hemeproteins}}

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 10:09, 6 มกราคม 2565

First thirty amino acid of normal Hb (on top) and of HbE (down).

ฮีโมโกลบิน อี (อังกฤษ: Hemoglobin E, Haemoglobin E, HbE) เป็นฮีโมโกลบินผิดปกติชนิดหนึ่ง เกิดจากการมีการกลายพันธุ์ตำแหน่งเดียว (single point) ในโปรตีนสายเบตาของฮีโมโกลบิน กรดอะมิโนในตำแหน่งที่ 26 จากเดิมเป็นกลูตามิกกลายเป็นไลซีน พบได้บ่อยในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมไปถึงอินเดียตอนเหนือ และเอเชียตะวันออก แต่พบได้น้อยในพื้นที่อื่น[1][2] สามารถตรวจพบได้ด้วยวิธีอิเลกโตรฟอเรซิส

การกลายพันธุ์แบบ βE นี้ ส่งผลต่อการแสดงออกของยีน β ทำให้เกิดจุดแบ่ง (splicing site) ขึ้นใหม่ใน mRNA ที่โคดอน 25-27 ของยีน β-globin กลไกนี้ทำให้ร่างกายมี β mRNA ที่ปกติน้อยลงเล็กน้อย และเกิดการสร้าง β mRNA ที่ผิดปกติขึ้น จำนวนเล็กน้อย อีกด้วย

ฮีโมโกลบินอี/เบต้าทาลัสซีเมีย[แก้]

ผู้ป่วยที่มีฮีโมโกลบินอี/เบต้าทาลัสซีเมีย จะได้รับยีนฮีโมโกลบินอีชุดหนึ่งจากพ่อหรือแม่คนหนึ่ง และยีนเบต้าทาลัสซีเมียจากอีกคนหนึ่ง ฮีโมโกลบินอี/เบต้าทาลัสซีเมียเป็นโรคที่มีอาการรุนแรง ซึ่งปัจจุบันยังไม่มีวิธีรักษาให้หายขาด มีผู้ป่วยกว่าหนึ่งล้านคนทั่วโลก หากไม่ได้รับการรักษาผู้ป่วยอาจมีหัวใจวาย ตับโต กระดูกผิดปกติ และอื่นๆ

อ้างอิง[แก้]

  1. "Hemoglobin e Trait - Health Encyclopedia - University of Rochester Medical Center".
  2. "Archived copy" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2014-06-24. สืบค้นเมื่อ 2017-06-08.{{cite web}}: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์)