ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สภาพยอม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8923325 สร้างโดย 2001:FB1:155:9AD7:3123:ECFF:8AB5:82FA (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[File:Diel.png|thumb|ตัวกลาง[[สารไดอิเล็กทริก]]ชนิดหนึ่งกำลังแสดงการวางตัวของอนุภาคที่มีประจุ สร้างปรากฏการณ์การเป็นขั้วไฟฟ้า ({{lang-en|polarization effect}}) ตัวกลางเช่นนี้สามารถมีอัตราส่วนของฟลักซ์ไฟฟ้าต่อประจุที่ต่ำ(แรงต้านสนามไฟฟ้าสูง)กว่าพื้นที่ว่างเปล่า]]
[[File:Diel.png|thumb|ตัวกลาง[[สารไดอิเล็กทริก]]ชนิดหนึ่งกำลังแสดงการวางตัวของอนุภาคที่มีประจุ สร้างปรากฏการณ์การเป็นขั้วไฟฟ้า ({{lang-en|polarization effect}}) ตัวกลางเช่นนี้สามารถมีอัตราส่วนของฟลักซ์ไฟฟ้าต่อประจุที่ต่ำ(แรงต้านสนามไฟฟ้าสูง)กว่าพื้นที่ว่างเปล่า]]


กลปน[[ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า]] '''แรงต้านสนามไฟฟ้า''' ({{lang-en|permittivity}}) เป็นตัวชี้วัดความต้านทานที่ถูกสร้างขึ้นเมื่อมีการก่อตัวของสนามไฟฟ้าในตัวกลาง พูดอีกอย่าง แรงต้านสนามไฟฟ้าเป็นตัววัดว่า[[สนามไฟฟ้า]]จะถูกกระทบอย่างไร และแรงนี้จะได้รับผลกระทบอย่างไรจากตัวกลางไดอิเล็กทริกหนึ่ง แรงต้านสนามไฟฟ้าของตัวกลางหนึ่งจะอธิบายถึงว่าสนามไฟฟ้า(ให้ถูกต้องมากขึ้น, คือฟลักซ์)มีจำนวนมากน้อยเท่าใดที่ถูก 'สร้าง' ขึ้นต่อหน่วยประจุในตัวกลางนั้น [[ฟลักซ์ไฟฟ้า]]จะเกิดขึ้นมากในตัวกลางที่มีแรงต้าน(ต่อหน่วยประจุ)ต่ำเนื่องจากปรากฏการณ์ของการเป็นขั้ว แรงต้านสนามไฟฟ้าจะเกี่ยวข้องโดยตรงกับ[[ความอ่อนไหวทางไฟฟ้า]]ซึ่งเป็นตัวชี้วัดว่าสารไดอิเล็กทริกหนึ่งจะกลายเป็นขั้วไฟฟ้าในการตอบสนองต่อ[[สนามไฟฟ้า]]ได้ง่ายแค่ไหน ดังนั้น แรงต้านสนามไฟฟ้าจะเกี่ยวข้องกับความสามารถของวัสดุที่จะ'''ต้านทาน'''ต่อสนามไฟฟ้า
ใน[[ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า]] '''แรงต้านสนามไฟฟ้า''' ({{lang-en|permittivity}}) เป็นตัวชี้วัดความต้านทานที่ถูกสร้างขึ้นเมื่อมีการก่อตัวของสนามไฟฟ้าในตัวกลาง พูดอีกอย่าง แรงต้านสนามไฟฟ้าเป็นตัววัดว่า[[สนามไฟฟ้า]]จะถูกกระทบอย่างไร และแรงนี้จะได้รับผลกระทบอย่างไรจากตัวกลางไดอิเล็กทริกหนึ่ง แรงต้านสนามไฟฟ้าของตัวกลางหนึ่งจะอธิบายถึงว่าสนามไฟฟ้า(ให้ถูกต้องมากขึ้น, คือฟลักซ์)มีจำนวนมากน้อยเท่าใดที่ถูก 'สร้าง' ขึ้นต่อหน่วยประจุในตัวกลางนั้น [[ฟลักซ์ไฟฟ้า]]จะเกิดขึ้นมากในตัวกลางที่มีแรงต้าน(ต่อหน่วยประจุ)ต่ำเนื่องจากปรากฏการณ์ของการเป็นขั้ว แรงต้านสนามไฟฟ้าจะเกี่ยวข้องโดยตรงกับ[[ความอ่อนไหวทางไฟฟ้า]]ซึ่งเป็นตัวชี้วัดว่าสารไดอิเล็กทริกหนึ่งจะกลายเป็นขั้วไฟฟ้าในการตอบสนองต่อ[[สนามไฟฟ้า]]ได้ง่ายแค่ไหน ดังนั้น แรงต้านสนามไฟฟ้าจะเกี่ยวข้องกับความสามารถของวัสดุที่จะ'''ต้านทาน'''ต่อสนามไฟฟ้า


ในหน่วยของ [[SI]] ค่าแรงต้านสนามไฟฟ้า ''ε'' มีหน่วยเป็น[[ฟารัด]]ต่อ[[เมตร]] (F/m or F·m<sup>−1</sup>) และ ความอ่อนไหวทางไฟฟ้า ''χ'' ไม่มีหน่วย ค่าทั้งสองเกี่ยวข้องกันผ่านทาง
ในหน่วยของ [[SI]] ค่าแรงต้านสนามไฟฟ้า ''ε'' มีหน่วยเป็น[[ฟารัด]]ต่อ[[เมตร]] (F/m or F·m<sup>−1</sup>) และ ความอ่อนไหวทางไฟฟ้า ''χ'' ไม่มีหน่วย ค่าทั้งสองเกี่ยวข้องกันผ่านทาง

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:29, 28 ธันวาคม 2564

ตัวกลางสารไดอิเล็กทริกชนิดหนึ่งกำลังแสดงการวางตัวของอนุภาคที่มีประจุ สร้างปรากฏการณ์การเป็นขั้วไฟฟ้า (อังกฤษ: polarization effect) ตัวกลางเช่นนี้สามารถมีอัตราส่วนของฟลักซ์ไฟฟ้าต่อประจุที่ต่ำ(แรงต้านสนามไฟฟ้าสูง)กว่าพื้นที่ว่างเปล่า

ในทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า แรงต้านสนามไฟฟ้า (อังกฤษ: permittivity) เป็นตัวชี้วัดความต้านทานที่ถูกสร้างขึ้นเมื่อมีการก่อตัวของสนามไฟฟ้าในตัวกลาง พูดอีกอย่าง แรงต้านสนามไฟฟ้าเป็นตัววัดว่าสนามไฟฟ้าจะถูกกระทบอย่างไร และแรงนี้จะได้รับผลกระทบอย่างไรจากตัวกลางไดอิเล็กทริกหนึ่ง แรงต้านสนามไฟฟ้าของตัวกลางหนึ่งจะอธิบายถึงว่าสนามไฟฟ้า(ให้ถูกต้องมากขึ้น, คือฟลักซ์)มีจำนวนมากน้อยเท่าใดที่ถูก 'สร้าง' ขึ้นต่อหน่วยประจุในตัวกลางนั้น ฟลักซ์ไฟฟ้าจะเกิดขึ้นมากในตัวกลางที่มีแรงต้าน(ต่อหน่วยประจุ)ต่ำเนื่องจากปรากฏการณ์ของการเป็นขั้ว แรงต้านสนามไฟฟ้าจะเกี่ยวข้องโดยตรงกับความอ่อนไหวทางไฟฟ้าซึ่งเป็นตัวชี้วัดว่าสารไดอิเล็กทริกหนึ่งจะกลายเป็นขั้วไฟฟ้าในการตอบสนองต่อสนามไฟฟ้าได้ง่ายแค่ไหน ดังนั้น แรงต้านสนามไฟฟ้าจะเกี่ยวข้องกับความสามารถของวัสดุที่จะต้านทานต่อสนามไฟฟ้า

ในหน่วยของ SI ค่าแรงต้านสนามไฟฟ้า ε มีหน่วยเป็นฟารัดต่อเมตร (F/m or F·m−1) และ ความอ่อนไหวทางไฟฟ้า χ ไม่มีหน่วย ค่าทั้งสองเกี่ยวข้องกันผ่านทาง

เมื่อ εr เป็นค่าแรงต้านสนามไฟฟ้าสัมพันธ์ของวัสดุ และ ε0 = 8.8541878176.. × 10−12 F/m เป็น แรงต้านสนามไฟฟ้าในสูญญากาศ