ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เซี่ยตะวันตก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BeckNoDa (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BeckNoDa (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 17: บรรทัด 17:
|country = [[จีน]]
|country = [[จีน]]
|today = {{ธง|จีน}} [[จีน]] <br> {{ธง|มองโกเลีย}} [[มองโกเลีย]]
|today = {{ธง|จีน}} [[จีน]] <br> {{ธง|มองโกเลีย}} [[มองโกเลีย]]
|capital = [[Xingqing Prefecture|ซิงชิ่ง]] (ปัจจุบันคือ [[อิ๋นชวน]])
|capital = [[Xingqing]]
|era = Post-classical history
|era = Post-classical history
|year_start = 1038
|year_start = 1038

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:17, 17 ธันวาคม 2564

เซี่ยตะวันตก

1038–1227
ที่ตั้งของราชวงศ์เซี่ยในปี 1211 (เซี่ยตะวันตกสีเขียว)
ที่ตั้งของราชวงศ์เซี่ยในปี 1211 (เซี่ยตะวันตกสีเขียว)
สถานะอาณาจักร
เมืองหลวงซิงชิ่ง (ปัจจุบันคือ อิ๋นชวน)
ภาษาทั่วไปตันกุต จีน
ศาสนา
ศาสนาหลัก
พระพุทธศาสนา
ศาสนารอง
ลัทธิเต๋า
ลัทธิขงจื๊อ
ศาสนาอิสลาม
การปกครองสมบูรณาญาสิทธิราชย์
จักรพรรดิ 
• 1038-1048
จักรพรรดิจิงจง
• 1206-1211
จักรพรรดิเสียงจง
• 1226-1227
จักรพรรดิโม่จู
ยุคประวัติศาสตร์Post-classical history
984
• ราชวงศ์ถูกสถาปนาโดย จักรพรรดิจิงจง
1038
• ปราชัยต่อ จักรวรรดิมองโกล
1210
• ถูกทำลายโดย จักรวรรดิมองโกล
1227
ก่อนหน้า
ถัดไป
ราชวงศ์ซ่ง
ราชวงศ์เหลียว
จักรวรรดิมองโกล
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของจีน จีน
มองโกเลีย มองโกเลีย

เซี่ยตะวันตก (จีน: 西夏; พินอิน: Xī Xià; เวด-ไจลส์: Hsi Hsia; อังกฤษ: Western Xia) เป็นชื่ออาณาจักรแห่งหนึ่งซึ่งดำรงอยู่ตั้งแต่ปี 1038 ถึงปี 1227 ณ บริเวณที่ปัจจุบันเป็นเขตกานซู ชิงไห่ ซินเจียง มองโกเลียนอก มองโกเลียใน ส่านซี และหนิงเซี่ย ของสาธารณรัฐประชาชนจีน กินพื้นที่ราวแปดแสนตารางกิโลเมตร[1][2][3]

อาณาจักรเซี่ยตะวันตกถูกพวกมองโกลจากอาณาจักรมองโกลทำลายโดยสิ้นเชิง เป็นเหตุให้บันทึกและสถาปัตยกรรมล้วนดับสูญ ฉะนั้น ประวัติศาสตร์ของอาณาจักรนี้จึงเป็นที่โต้เถียงเรื่อยมา จนกระทั่งมีการสำรวจขนานใหญ่จากฝรั่งและคนจีนเอง จึงพบว่า อาณาจักรเซี่ยตะวันตกประสบความสำเร็จอย่างใหญ่หลวงในด้านนาฏกรรม วรรณกรรม ศิลปกรรม และสถาปัตยกรรม ชนิดที่นักประวัติศาสตร์ถือกันว่า เป็นผลงานที่ "รุ่งโรจน์เรืองรอง" (shining and sparkling)[4] อนึ่ง ยังพบว่า อาณาจักรเซี่ยตะวันตกสามารถจัดระเบียบกองทัพอย่างเป็นระบบ กองทัพเซี่ยมีทั้งพลธนู พลปืน (ติดตั้งปืนใหญ่ไว้บนหลังอูฐ) พลม้า พลรถ พลโล่ และทแกล้ว(ทหารที่เก่งทั้งน้ำและบก) อาณาจักรเซี่ยตะวันตกจึงรุกรานอาณาจักรรอบข้าง เช่น จิน ซ่ง และเหลียวได้อย่างมีประสิทธิภาพ[5]

อ้างอิง

  1. Wang, Tianshun [王天顺] (1993). Xixia zhan shi [The Battle History of Western Xia] 西夏战史. Yinchuan [银川], Ningxia ren min chu ban she [Ningxia People's Press] 宁夏人民出版社.
  2. Bian, Ren [边人] (2005). Xixia: xiao shi zai li shi ji yi zhong de guo du [Western Xia: the kingdom lost in historical memories] 西夏: 消逝在历史记忆中的国度. Beijing [北京], Wai wen chu ban she [Foreign Language Press] 外文出版社.
  3. Li, Fanwen [李范文] (2005). Xixia tong shi [Comprehensive History of Western Xia] 西夏通史. Beijing [北京] and Yinchuan [银川], Ren min chu ban she [People's Press] 人民出版社; Ningxia ren min chu ban she [Ningxia People's Press] 宁夏人民出版社.
  4. Zhao, Yanlong [赵彦龙] (2005). "Qian tan xi xia gong wen wen feng yu gong wen zai ti [A brief discussion on the writing style in official documents and documental carrier] 浅谈西夏公文文风与公文载体." Xibei min zu yan jiu [Northwest Nationalities Research] 西北??Б族?研究 45(2): 78-84.
  5. Qin, Wenzhong [秦文忠], Zhou Haitao [周海涛] and Qin Ling [秦岭] (1998). "Xixia jun shi ti yu yu ke xue ji shu [The military sports, science and technology of West Xia] 西夏军事体育与科学技术." Ningxia da xue xue bao [Journal of Ningxia University] 宁夏大学学报 79 (2): 48-50.