ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศเซาตูแมอีปริงซีป"

พิกัด: 1°N 7°E / 1°N 7°E / 1; 7
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 187: บรรทัด 187:
{{Authority control}}
{{Authority control}}


[[หมวดหมู่:ประเทศเซาตูแมอีปริงซีป|ประเทศเซาตูแมอีปริงซีป]]
[[หมวดหมู่:ประเทศเซาตูแมอีปริงซีป| ]]
[[หมวดหมู่:สาธารณรัฐ|ซ]]
[[หมวดหมู่:สาธารณรัฐ|ซ]]
[[หมวดหมู่:สาธารณรัฐประชาธิปไตย|ซ]]
[[หมวดหมู่:สาธารณรัฐประชาธิปไตย|ซ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:54, 12 ธันวาคม 2564

1°N 7°E / 1°N 7°E / 1; 7

สาธารณรัฐประชาธิปไตย
เซาตูแมอีปริงซีป

República Democrática de
São Tomé e Príncipe
  (โปรตุเกส)
ตราแผ่นดินของเซาตูแมอีปริงซีป
ตราแผ่นดิน
คำขวัญ"Unidade, Disciplina, Trabalho" (โปรตุเกส)
"เอกภาพ, ระเบียบวินัย, แรงงาน"
เพลงชาติอิงดึเป็งเด็งซียาตูตัล
ความเป็นอิสระภาพทั้งมวล
ที่ตั้งของ ประเทศเซาตูแมอีปริงซีป  (น้ำเงินเข้ม) – ในแอฟริกา  (ฟ้า & เทาเข้ม) – ในสหภาพแอฟริกา  (ฟ้า)
ที่ตั้งของ ประเทศเซาตูแมอีปริงซีป  (น้ำเงินเข้ม)

– ในแอฟริกา  (ฟ้า & เทาเข้ม)
– ในสหภาพแอฟริกา  (ฟ้า)

เมืองหลวง
และเมืองใหญ่สุด
เซาตูแม
0°20′N 6°44′E / 0.333°N 6.733°E / 0.333; 6.733
ภาษาราชการโปรตุเกส
ศาสนา
การปกครองรัฐเดี่ยว ระบบกึ่งประธานาธิบดี สาธารณรัฐ[2]
Carlos Vila Nova
Jorge Bom Jesus
สภานิติบัญญัติรัฐสภา
เอกราช
12 กรกฎาคม ค.ศ. 1975
พื้นที่
• รวม
1,001[3] ตารางกิโลเมตร (386 ตารางไมล์) (อันดับที่ 171)
น้อยมาก
ประชากร
• พ.ศ. 2560 ประมาณ
199,910[4] (อันดับที่ 186)
• สำมะโนประชากร 2012
178,739
199.7 ต่อตารางกิโลเมตร (517.2 ต่อตารางไมล์) (อันดับที่ 69)
จีดีพี (อำนาจซื้อ) 2017 (ประมาณ)
• รวม
685 ล้านดอลลาร์สหรัฐ[5]
3,220 ดอลลาร์สหรัฐ[5]
จีดีพี (ราคาตลาด) 2017 (ประมาณ)
• รวม
355 ล้านดอลลาร์สหรัฐ[5]
1,668 ดอลลาร์สหรัฐ[5]
จีนี (2017)Negative increase 56.3[6]
สูง
เอชดีไอ (2019)เพิ่มขึ้น 0.625[7]
ปานกลาง · อันดับที่ 135
สกุลเงินโดบรา (STN)
เขตเวลาUTC (เวลามาตรฐานกรีนิช)
ขับรถด้านขวา
รหัสโทรศัพท์+239
รหัส ISO 3166ST
โดเมนบนสุด.st

เซาตูแมอีปริงซีป (โปรตุเกส: São Tomé e Príncipe, ภาษาโปรตุเกส: [sɐ̃w̃ tuˈmɛ i ˈpɾĩsɨpɨ]) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยเซาตูแมอีปริงซีป (โปรตุเกส: República Democrática de São Tomé e Príncipe) เป็นประเทศหมู่เกาะเล็ก ๆ ในอ่าวกินี ประกอบด้วยเกาะสำคัญ 2 เกาะ คือ เกาะเซาตูแมและเกาะปริงซีป ซึ่งอยู่ห่างกันประมาณ 140 กิโลเมตร (87 ไมล์) และตั้งอยู่ห่างจากชายฝั่งกาบองไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือประมาณ 250 และ 225 กิโลเมตร (155 และ 140 ไมล์) ตามลำดับ เกาะทั้งสองเป็นส่วนหนึ่งของแนวภูเขาไฟที่ดับแล้ว มีประชากร 201,800 คน (ประมาณทางการ ค.ศ. 2018)[8][4]

เกาะเซาตูแมซึ่งมีขนาดใหญ่กว่านั้น ตั้งอยู่เกือบตรงกับบริเวณที่เส้นศูนย์สูตรพาดผ่าน และตั้งชื่อตามนักบุญทอมัส (Saint Thomas) เนื่องจากนักสำรวจชาวโปรตุเกสได้ค้นพบเกาะนี้ในวันนักบุญทอมัส (St. Thomas's Day) พอดี

ประวัติศาสตร์

การเมือง

การแบ่งเขตการปกครอง

จังหวัดและเขตต่าง ๆ ของเซาตูแมอีปริงซีป

ประเทศเซาตูแมอีปริงซีปแบ่งออกเป็น 2 จังหวัด (provinces) คือ

1. จังหวัดปริงซีป (ซังตูอังตอนียู)
2. จังหวัดเซาตูแม (เซาตูแม)

แต่ละจังหวัดยังแบ่งออกเป็นเขต รวม 7 เขต (districts) โดยจังหวัดปริงซีปมี 1 เขต ส่วนจังหวัดเซาตูแมมี 6 เขต ได้แก่

1. เขตอากวากรังดือ (เซาตูแม)
2. เขตกังตากาลู (ซังตานา)
3. เขตเกาแว (เซาฌูเอาดุชอังกูลารึช)
4. เขตเล็งบา (แนวึช)
5. เขตลูบาตา (กวาดาลูปือ)
6. เขตแม-ซอ (ตริงดาดือ)
7. เขตปาแก (ซังตูอังตอนียู)
  • ชื่อเมืองหลักของแต่ละเขตการปกครองอยู่ในวงเล็บ

ภูมิศาสตร์

เศรษฐกิจ

ประชากร

ภาษา

วัฒนธรรม

อ้างอิง

  1. "Religions in Sao Tome and Principe | PEW-GRF".
  2. Octávio Amorim Neto; Marina Costa Lobo (2010). "Between Constitutional Diffusion and Local Politics: Semi-Presidentialism in Portuguese-Speaking Countries". Social Science Research Network. SSRN 1644026. {{cite journal}}: Cite journal ต้องการ |journal= (help)CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  3. "Ministério Dos Negócios Estrangeiros e Comunidades da República Democrática de São Tomé e Príncipe". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-03-08. สืบค้นเมื่อ 2017-11-10.
  4. 4.0 4.1 "การประเมินประชากรโลก พ.ศ. 2560". ESA.UN.org (custom data acquired via website). United Nations Department of Economic and Social Affairs, Population Division. สืบค้นเมื่อ 10 September 2017.
  5. 5.0 5.1 5.2 5.3 "São Tomé and Príncipe". International Monetary Fund. สืบค้นเมื่อ 2013-04-17.
  6. "GINI index coefficient". CIA Factbook. สืบค้นเมื่อ 17 July 2021.
  7. Human Development Report 2020 The Next Frontier: Human Development and the Anthropocene (PDF). United Nations Development Programme. 15 December 2020. pp. 343–346. ISBN 978-92-1-126442-5. สืบค้นเมื่อ 16 December 2020.
  8. Instituto Nacional de Estadística de São Tomé e Príncipe, as at 13 May 2018.

บรรณานุกรม

  • Seibert, Gerhard (2006). Comrades, Clients, and Cousins: Colonialism, Socialism, and Democratization in São Tomé and Príncipe. Leiden: Brill. ISBN 9789004147362.
  • Seibert, Gerhard (2013). "São Tomé & Príncipe: The First Plantation Economy in the Tropics". ใน Law, Robin; Strickrodt, Silke; Schwarz, Suzanne (บ.ก.). Commercial Agriculture, the Slave Trade and Slavery in Atlantic Africa. Woodbridge, Suffolk: James Currey. ISBN 9781847011367.
  • Vogt, John L. (1973). "The Early Sao Tome-Principe Slave Trade with Mina, 1500-1540". The International Journal of African Historical Studies. 6 (3): 453–467. doi:10.2307/216611. JSTOR 216611.

อ่านเพิ่ม

  • Chabal, Patrick (ed.) 2002. A history of postcolonial Lusophone Africa. London: C. Hurst. ISBN 1-85065-589-8 – Overview of the decolonization of Portugal's African colonies, and a chapter specifically about São Tomé and Príncipe's experience since the 1970s.
  • Eyzaguirre, Pablo B. "The independence of São Tomé e Príncipe and agrarian reform." Journal of Modern African Studies 27.4 (1989): 671–678.
  • Frynas, Jędrzej George, Geoffrey Wood, and Ricardo MS Soares de Oliveira. "Business and politics in São Tomé e Príncipe: from cocoa monoculture to petro‐state." African Affairs 102.406 (2003): 51–80. online
  • Hodges, Tony, and Malyn Dudley Dunn Newitt. São Tomé and Príncipe: from plantation colony to microstate (Westview Press, 1988).
  • Keese, Alexander. "Forced labour in the 'Gorgulho Years': Understanding reform and repression in Rural São Tomé e Príncipe, 1945–1953." Itinerario 38.1 (2014): 103–124.
  • Tomás, Gil, et al. "The peopling of Sao Tome (Gulf of Guinea): origins of slave settlers and admixture with the Portuguese." Human biology 74.3 (2002): 397–411.
  • Weszkalnys, Gisa. "Hope & oil: expectations in São Tomé e Príncipe." Review of African Political Economy 35.117 (2008): 473–482. online

แหล่งข้อมูลอื่น

รัฐบาล