ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดำริ น้อยมณี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ศรีคำ002 (คุย | ส่วนร่วม)
ศรีคำ002 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 46: บรรทัด 46:
{{ส.ช.2/2|2513}}<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2513/D/097/1.PDF แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญพิทักษ์เสรีชน], เล่ม ๘๗ ตอนที่ ๙๗ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๔๖, ๒๑ ตุลาคม ๒๕๑๓</ref>
{{ส.ช.2/2|2513}}<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2513/D/097/1.PDF แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญพิทักษ์เสรีชน], เล่ม ๘๗ ตอนที่ ๙๗ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๔๖, ๒๑ ตุลาคม ๒๕๑๓</ref>
{{ช.ด.|2514}}<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2514/D/073/1.PDF แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญราชการชายแดน], เล่ม ๘๘ ตอนที่ ๗๓ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๒, ๙ กรกฎาคม ๒๕๑๔</ref>
{{ช.ด.|2514}}<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2514/D/073/1.PDF แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญราชการชายแดน], เล่ม ๘๘ ตอนที่ ๗๓ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๒, ๙ กรกฎาคม ๒๕๑๔</ref>
{{ร.จ.พ.|2504}}<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2504/D/104/704.PDF แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลา], เล่ม ๗๘ ตอนที่ ๑๐๔ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๘๒๒, ๑๕ ธันวาคม ๒๕๐๔</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 06:44, 27 ตุลาคม 2564

ดำริ น้อยมณี
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย
ดำรงตำแหน่ง
12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520 – 22 เมษายน พ.ศ. 2522
นายกรัฐมนตรีพลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันท์
ดำรงตำแหน่ง
24 พฤษภาคม พ.ศ. 2522 – 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2523
รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
ดำรงตำแหน่ง
11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2523 – 3 มีนาคม พ.ศ. 2523
ข้อมูลส่วนบุคคล
เสียชีวิตพ.ศ. 2540
ศาสนาพุทธ

ดำริ น้อยมณี เป็นอดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลพลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันท์ (ครม.40, 41) ในระหว่างปี พ.ศ. 2520 ถึงปี พ.ศ. 2523 และเป็นอดีตผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรสาคร

ประวัติ

ดำริ น้อยมณี เคยรับราชการในสังกัดกระทรวงมหาดไทย เคยได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งรองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน และเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรสาคร

ต่อมาในปี พ.ศ. 2520 ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลพลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ และได้รับแต่งตั้งอีกครั้งในรัฐบาลคณะต่อมา นำโดยพลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์[1] กระทั่งในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2523 หลังการลงมติการอภิปรายไม่ไว้วางใจได้มีการปรับคณะรัฐมนตรี เขาจึงได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี[2] กระทั่งเมื่อวันที่ 29 กุมภาพันธ์ของปีเดียวกัน นายกรัฐมนตรีได้ประกาศลาออกจากตำแหน่งในสภาผู้แทนราษฎร ขณะกำลังจะเริ่มประชุมสมัยสามัญสภาผู้แทนราษฎร[3]

ในปี พ.ศ. 2525 เขาได้ร่วมก่อตั้งพรรคชาติประชาธิปไตย โดยมีพลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ เป็นหัวหน้าพรรค และนายดำริ ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการบริหารพรรค[4]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง

  1. พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๔๔ ราย)
  2. พระบรมราชโองการ ประกาศ รัฐมนตรีลาออก ให้รัฐมนตรีพ้นจากตำแหน่ง และแต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๓๗ ราย)
  3. การเมืองตำนานการเมือง พล.อ.เกรียงศักดิ์ เป็นนายกฯ คนนอกได้เพราะเสียง ส.ว.
  4. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การจดทะเบียนพรรคการเมืองเล่ม 99 ตอนที่ 154 วันที่ 20 ตุลาคม 2525
  5. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๙๔ ตอนที่ ๓ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๓๘, ๖ มกราคม ๒๕๒๐
  6. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๙๑ ตอนที่ ๒๒๙ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๓๙, ๓๑ ธันวาคม ๒๕๑๗
  7. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๘๙ ตอนที่ ๗๖ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๒๗, ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๑๕
  8. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญพิทักษ์เสรีชน, เล่ม ๘๗ ตอนที่ ๙๗ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๔๖, ๒๑ ตุลาคม ๒๕๑๓
  9. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญราชการชายแดน, เล่ม ๘๘ ตอนที่ ๗๓ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๒, ๙ กรกฎาคม ๒๕๑๔
  10. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลา, เล่ม ๗๘ ตอนที่ ๑๐๔ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๘๒๒, ๑๕ ธันวาคม ๒๕๐๔