ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียเหนือ พ.ศ. 2564"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potae 29 (คุย | ส่วนร่วม)
→‎พายุ: เพิ่มข้อมูล
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 104: บรรทัด 104:
|Track=Gulab-Shaheen 2021 track.png
|Track=Gulab-Shaheen 2021 track.png
|Formed=30 กันยายน
|Formed=30 กันยายน
|Dissipated=ปัจจุบัน
|Dissipated=4 ตุลาคม
|3-min winds=60
|3-min winds=60
|1-min winds=65
|1-min winds=70
|Pressure=986
|Pressure=986
}}
}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:26, 20 ตุลาคม 2564

ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียเหนือ พ.ศ. 2564
แผนที่สรุปฤดูกาล
ขอบเขตฤดูกาล
ระบบแรกก่อตัว2 เมษายน พ.ศ. 2564
ระบบสุดท้ายสลายตัวฤดูกาลกำลังดำเนินอยู่
พายุมีกำลังมากที่สุด
ชื่อเตาะแต่
 • ลมแรงสูงสุด195 กม./ชม. (120 ไมล์/ชม.)
(เฉลี่ย 3 นาที)
 • ความกดอากาศต่ำที่สุด950 hPa (มิลลิบาร์)
สถิติฤดูกาล
พายุดีเปรสชัน3 ลูก
พายุดีเปรสชันหมุนเร็ว2 ลูก
พายุไซโคลน1 ลูก
พายุไซโคลนกำลังแรง1 ลูก
พายุไซโคลนกำลังแรงมาก1 ลูก
ผู้เสียชีวิตทั้งหมดทั้งหมด 174 คน
ความเสียหายทั้งหมด2.1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
(ค่าเงิน USD ปี 2021)
ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียเหนือ
2562, 2563, 2564, 2565, 2566

ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2564 คือรอบของพายุหมุนเขตร้อน ที่กำลังมีการก่อตัวในมหาสมุทรอินเดียเหนือในอดีต ซึ่งไม่มีการกำหนดฤดูอย่างเป็นทางการ แต่พายุไซโคลนมีแนวโน้มก่อตัวระหว่างเดือนเมษายนถึงธันวาคม โดยมีอัตราสูงที่สุดตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงพฤศจิกายน

ขอบเขตของบทความนี้จะถูกจำกัดอยู่ในมหาสมุทรอินเดียที่อยู่ในซีกโลกเหนือ ทางทิศตะวันออกของจะงอยแอฟริกาและทางทิศตะวันตกของคาบสมุทรมลายู โดยมีสองทะเลหลักอยู่ในมหาสมุทรอินเดียเหนือ คือ ทะเลอาหรับ ไปทางตะวันตกของอนุทวีปอินเดีย ถูกเรียกอย่างย่อว่า ARB โดยกรมอุตุนิยมวิทยาอินเดีย (IMD); และอ่าวเบงกอล ไปทางตะวันออก เรียกอย่างย่อว่า BOB โดย IMD

ผู้ที่รับผิดชอบอย่างเป็นทางการในแอ่งนี้ตามศูนย์อุตุนิยมวิทยาชำนัญพิเศษประจำภูมิภาค คือ กรมอุตุนิยมวิทยาอินเดีย (IMD) ขณะที่ศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่นจะออกคำเตือนอย่างไม่เป็นทางการในภูมิภาคนี้ โดยเฉลี่ยแล้วแอ่งนี้จะมีพายุก่อตัว 4-6 ลูกในทุกฤดูกาล[1][2]

พายุ

พายุดีเปรสชัน BOB 01

ดีเปรสชัน (IMD)
ระยะเวลา 2 – 3 เมษายน
ความรุนแรง 45 กม./ชม. (30 ไมล์/ชม.) (3 นาที)
1000 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.53 นิ้วปรอท)

พายุไซโคลนกำลังแรงมากเตาะแต

พายุไซโคลนกำลังแรงอย่างมาก (IMD)
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 14 – 19 พฤษภาคม
ความรุนแรง 195 กม./ชม. (120 ไมล์/ชม.) (3 นาที)
950 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.05 นิ้วปรอท)

พายุไซโคลนกำลังแรงมากยาส

พายุไซโคลนกำลังแรงมาก (IMD)
พายุไซโคลน (TMD)
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 23 – 28 พฤษภาคม
ความรุนแรง 130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) (3 นาที)
972 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.7 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชัน BOB 03

พายุไซโคลน (IMD)
ระยะเวลา 12 – 15 กันยายน
ความรุนแรง 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (3 นาที)
990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท)

พายุไซโคลนกุหลาบ

พายุไซโคลน (IMD)
พายุไซโคลน (TMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 24 – 28 กันยายน
ความรุนแรง 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (3 นาที)
992 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.29 นิ้วปรอท)


พายุไซโคลนกำลังแรงชาฮีน

พายุไซโคลนกำลังแรง (IMD)
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 30 กันยายน – 4 ตุลาคม
ความรุนแรง 110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (3 นาที)
986 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.12 นิ้วปรอท)

รายชื่อพายุ

ภายในแอ่งนี้ พายุหมุนเขตร้อนจะมีชื่อเมื่อมีความรุนแรงในระดับพายุไซโคลน มีความเร็วลม 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) เป็นชื่อที่คัดเลือกโดยสมาชิกขององค์คณะพายุหมุนเขตร้อนของคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชียและแปซิฟิก (ESCAP)/องค์การอุตุนิยมวิทยาโลก (WMO) โดยศูนย์อุตุนิยมวิทยาชำนัญพิเศษประจำภูมิภาคในนิวเดลี ได้มีการเริ่มต้นกำหนดชื่อในเดือนกันยายน ปี พ.ศ. 2547 ชื่อในแอ่งนี้ไม่มีการถอดถอนชื่อพายุหมุนเขตร้อน เนื่องจากรายการชื่อเป็นเพียงการกำหนดไว้ใช้เพียงครั้งเดียว ก่อนที่จะร่างรายชื่อใหม่ขึ้นมาทดแทน ถ้าหากมีพายุจากแอ่งมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเคลื่อนเข้ามา ก็จะใช้ชื่อเดิมที่มากับตัวพายุ

  • เตาะแต
  • ยาส
  • กุหลาบ
  • ชาฮีน(ใช้งานอยู่)
  • ญะวาด (ยังไม่ใช้)
  • อัสนี (ยังไม่ใช้)
  • ศรีตรัง (ยังไม่ใช้)
  • มันดุซ (ยังไม่ใช้)

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. "Annual Frequency of Cyclonic Disturbances (Maximum Wind Speed of 17 Knots or More), Cyclones (34 Knots or More) and Severe Cyclones (48 Knots or More) Over the Bay of Bengal (BOB), Arabian Sea (AS) and Land Surface of India" (PDF). India Meteorological Department. สืบค้นเมื่อ 30 October 2015.
  2. RSMC — Tropical Cyclones New Delhi (2010). Report on Cyclonic Disturbances over North Indian Ocean during 2009 (PDF) (Report). India Meteorological Department. pp. 2–3. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2010-04-06. สืบค้นเมื่อ May 24, 2011.

แหล่งข้อมูลอื่น