ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วุยก๊ก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nix Sunyata (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 37: บรรทัด 37:
}}
}}


'''วุยก๊ก''' หรือ รัฐ'''เว่ย์''' ({{Zh-all|曹魏}}; [[พินอิน]]: Cáo Wèi) (ค.ศ. 220–266), เป็นหนึ่งในสามรัฐหลักที่ต่อสู้รบแย่งชิงกันเพื่อครองอำนาจสูงสุดเหนือแผ่นดินจีนในยุคสมัย[[ยุคสามก๊ก|สามก๊ก]](ค.ศ. 220 - ค.ศ. 280) ด้วยเริ่มแรก เมืองหลวงตั้งอยู่ที่[[สฺวี่ชาง|สวี่ชาง]](นครฮูโต๋) และต่อจากนั้นเป็น[[ลั่วหยาง]] รัฐนี้ได้ถูกสถาปนาโดย[[โจผี|เฉาพี]](โจผี) ใน ค.ศ. 220 จากรากฐานที่ได้ถูกวางไว้โดยบิดาของเขา [[โจโฉ|เฉาเฉา]](โจโฉ) ตลอดจนถึงจุดสิ้นสุดราชวงศ์ฮั่นตะวันออก ชื่อว่า "เว่ย์" มีส่วนเกี่ยวข้องเป็นครั้งแรกกับเฉาเฉา เมื่อเขาได้รับการแต่งตั้งให้เป็น "วุยก๋ง" โดยราชสำนักฮั่นตะวันออกใน ค.ศ. 213 และกลายเป็นชื่อของรัฐ เมื่อเฉาพีได้สถาปนาตนเองเป็นจักรพรรดิใน ค.ศ. 220 นักประวัติศาสตร์มักจะเติมคำนำหน้าว่า "เฉา" เพื่อแบ่งแยกความแตกต่างจากรัฐอื่น ๆ ของจีนที่เรียกว่า "เว่ย์" เช่น [[รัฐเว่ย์]]แห่ง[[ยุครณรัฐ]](จั้นกั๋ว) และ[[ราชวงศ์เว่ย์เหนือ|รัฐเว่ย์เหนือ]]แห่ง[[ยุคราชวงศ์เหนือ-ใต้]] อำนาจการปกครองของตระกูลเฉาได้อ่อนแอลงอย่างมากในภายหลังจากทำการขับไล่เนรเทศและประหารชีวิต[[โจซอง|เฉา ซวง]](โจซอง) พร้อมกับบรรดาพี่น้องของเขา ซึ่งเคยเป็นหนึ่งในผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ของจักรพรรดิเว่ย์องค์ที่สาม [[โจฮอง|เฉา ฟาง]](โจฮอง) โดยอำนาจควบคุมรัฐก็ค่อย ๆ ตกไปอยู่ในเงื้อมมือของ[[สุมาอี้|ซือหม่า อี้]](สุมาอี้) ซึ่งเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์อีกคนและครอบครัวของเขา ตั้งแต่ ค.ศ. 249 ต่อมา ในท้ายที่สุดจักรพรรดิเว่ย์ยังคงกลายเป็นผู้ปกครองหุ่นเชิดภายใต้การควบคุมของตระกูลซื่อหม่า จนกระทั่ง[[สุมาเอี๋ยน|ซือหม่า หยาน]](สุมาเอี๋ยน) หลานชายของซือหม่า อี้ ได้บีบบังคับให้[[โจฮวน|เฉา ฮวน]](โจฮวน) จักรพรรดิองค์สุดท้ายแห่งเว่ย สละราชบัลลังก์และสถาปนา[[ราชวงศ์จิ้น]]ขึ้นมา
'''วุยก๊ก''' หรือ รัฐ'''เว่ย์''' ({{Zh-all|曹魏}}; [[พินอิน]]: Cáo Wèi) จัดเป็นก๊กที่ยิ่งใหญ่และมีอำนาจมากที่สุดในบรรดาสามก๊ก ในระหว่างปี พ.ศ. 763 — พ.ศ. 808 (ปี ค.ศ. 220 — 265) ครอบคลุมพื้นที่ทางตอนเหนือของ[[ประเทศจีน]] ปกครองโดย[[โจโฉ]] ต่อมา[[โจผี]]สถาปนา[[ราชวงศ์วุย]]และได้สถาปนาโจโฉเป็นปฐมจักรพรรดิแห่งราชวงศ์วุยอีกพระองค์หนึ่ง วุยก๊กปกครองอาณาจักรโดย[[จักรพรรดิจีน|จักรพรรดิ]]สืบต่อกันมาทั้งหมด 5 พระองค์ ได้แก่<ref name="ราชวงศ์วุย">ราชวงศ์วุย, อินไซด์สามก๊ก, ณรงค์ชัย ปัญญานนทชัย, สำนักพิมพ์ดอกหญ้า, พ.ศ. 2550, หน้า 58</ref>

วุยก๊กปกครองอาณาจักรโดย[[จักรพรรดิจีน|จักรพรรดิ]]สืบต่อกันมาทั้งหมด 5 พระองค์ ได้แก่<ref name="ราชวงศ์วุย">ราชวงศ์วุย, อินไซด์สามก๊ก, ณรงค์ชัย ปัญญานนทชัย, สำนักพิมพ์ดอกหญ้า, พ.ศ. 2550, หน้า 58</ref>


# [[โจผี]] ปกครองวุยก๊กในระหว่างปี พ.ศ. 763 — พ.ศ. 769
# [[โจผี]] ปกครองวุยก๊กในระหว่างปี พ.ศ. 763 — พ.ศ. 769
บรรทัด 44: บรรทัด 46:
# [[โจมอ]] ปกครองวุยก๊กในระหว่างปี พ.ศ. 797 — พ.ศ. 803
# [[โจมอ]] ปกครองวุยก๊กในระหว่างปี พ.ศ. 797 — พ.ศ. 803
# [[โจฮวน]] ปกครองวุยก๊กในระหว่างปี พ.ศ. 803 — พ.ศ. 808
# [[โจฮวน]] ปกครองวุยก๊กในระหว่างปี พ.ศ. 803 — พ.ศ. 808

วุยก๊กถูกยึดอำนาจโดยครอบครัวขุนนางตระกูลสุมา ต่อมาราชวงศ์วุยก็ถูกโค่นล้มโดย[[สุมาเอี๋ยน]] ซึ่งต่อมาภายหลังได้สถาปนา[[ราชวงศ์จิ้น]]ขึ้นแทนและรวบรวมแผ่นดินที่แบ่งเป็นก๊กต่าง ๆ เข้าด้วยกัน


==ประวัติ==
==ประวัติ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:06, 20 ตุลาคม 2564

รัฐวุย

พ.ศ. 763–พ.ศ. 808
แผนที่สามก๊ก วุยก๊กแสดงด้วยสีเหลือง
แผนที่สามก๊ก วุยก๊กแสดงด้วยสีเหลือง
เมืองหลวงลกเอี๋ยง
ภาษาทั่วไปภาษาจีน
ศาสนา
เต๋า, ขงจื๊อ, ศาสนาชาวบ้านจีน
การปกครองราชาธิปไตย
ยุคประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก
• พระเจ้าโจผีโค่นล้มราชวงศ์ฮั่น ก่อตั้งวุยก๊ก
พ.ศ. 763
• พระเจ้าสุมาเอี๋ยนโค่นล้มราชวงศ์วุย ก่อตั้งราชวงศ์จิ้น วุยก๊กล่มสลาย
พ.ศ. 808
ประชากร
• 
สำมะโน 4,432,881 5-10 ล้านคน รวมกับคนที่อาจตกหล่นจากการสำมะโน
ก่อนหน้า
ถัดไป
ราชวงศ์ฮั่น
ราชวงศ์จิ้น

วุยก๊ก หรือ รัฐเว่ย์ (จีน: 曹魏; พินอิน: Cáo Wèi) (ค.ศ. 220–266), เป็นหนึ่งในสามรัฐหลักที่ต่อสู้รบแย่งชิงกันเพื่อครองอำนาจสูงสุดเหนือแผ่นดินจีนในยุคสมัยสามก๊ก(ค.ศ. 220 - ค.ศ. 280) ด้วยเริ่มแรก เมืองหลวงตั้งอยู่ที่สวี่ชาง(นครฮูโต๋) และต่อจากนั้นเป็นลั่วหยาง รัฐนี้ได้ถูกสถาปนาโดยเฉาพี(โจผี) ใน ค.ศ. 220 จากรากฐานที่ได้ถูกวางไว้โดยบิดาของเขา เฉาเฉา(โจโฉ) ตลอดจนถึงจุดสิ้นสุดราชวงศ์ฮั่นตะวันออก ชื่อว่า "เว่ย์" มีส่วนเกี่ยวข้องเป็นครั้งแรกกับเฉาเฉา เมื่อเขาได้รับการแต่งตั้งให้เป็น "วุยก๋ง" โดยราชสำนักฮั่นตะวันออกใน ค.ศ. 213 และกลายเป็นชื่อของรัฐ เมื่อเฉาพีได้สถาปนาตนเองเป็นจักรพรรดิใน ค.ศ. 220 นักประวัติศาสตร์มักจะเติมคำนำหน้าว่า "เฉา" เพื่อแบ่งแยกความแตกต่างจากรัฐอื่น ๆ ของจีนที่เรียกว่า "เว่ย์" เช่น รัฐเว่ย์แห่งยุครณรัฐ(จั้นกั๋ว) และรัฐเว่ย์เหนือแห่งยุคราชวงศ์เหนือ-ใต้ อำนาจการปกครองของตระกูลเฉาได้อ่อนแอลงอย่างมากในภายหลังจากทำการขับไล่เนรเทศและประหารชีวิตเฉา ซวง(โจซอง) พร้อมกับบรรดาพี่น้องของเขา ซึ่งเคยเป็นหนึ่งในผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ของจักรพรรดิเว่ย์องค์ที่สาม เฉา ฟาง(โจฮอง) โดยอำนาจควบคุมรัฐก็ค่อย ๆ ตกไปอยู่ในเงื้อมมือของซือหม่า อี้(สุมาอี้) ซึ่งเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์อีกคนและครอบครัวของเขา ตั้งแต่ ค.ศ. 249 ต่อมา ในท้ายที่สุดจักรพรรดิเว่ย์ยังคงกลายเป็นผู้ปกครองหุ่นเชิดภายใต้การควบคุมของตระกูลซื่อหม่า จนกระทั่งซือหม่า หยาน(สุมาเอี๋ยน) หลานชายของซือหม่า อี้ ได้บีบบังคับให้เฉา ฮวน(โจฮวน) จักรพรรดิองค์สุดท้ายแห่งเว่ย สละราชบัลลังก์และสถาปนาราชวงศ์จิ้นขึ้นมา

วุยก๊กปกครองอาณาจักรโดยจักรพรรดิสืบต่อกันมาทั้งหมด 5 พระองค์ ได้แก่[1]

  1. โจผี ปกครองวุยก๊กในระหว่างปี พ.ศ. 763 — พ.ศ. 769
  2. โจยอย ปกครองวุยก๊กในระหว่างปี พ.ศ. 769 — พ.ศ. 782
  3. โจฮอง ปกครองวุยก๊กในระหว่างปี พ.ศ. 782 — พ.ศ. 797
  4. โจมอ ปกครองวุยก๊กในระหว่างปี พ.ศ. 797 — พ.ศ. 803
  5. โจฮวน ปกครองวุยก๊กในระหว่างปี พ.ศ. 803 — พ.ศ. 808

ประวัติ

จุดเริ่มต้นและการสถาปนา

ในช่วงปลายราชวงศ์ฮั่นตะวันออก ภาคเหนือของจีนอยู่ใต้การปกครองของโจโฉ อัครมหาเสนาบดีในพระเจ้าเหี้ยนเต้ จักรพรรดิองค์สุดท้ายของราชวงศ์ฮั่น ในปี ค.ศ. 213 พระเจ้าเหี้ยนเต้สถาปนาโจโฉขึ้นเป็น "วุยก๋ง" (魏公 เว่ย์กง) และพระราชทานเมืองให้ปกครองสิบเมือง พื้นที่นี้ถูกเรียกว่า "วุย" (เว่ย์) ขณะนั้นภาคใต้ของจีนถูกแบ่งเป็นสองพื้นที่ที่ปกครองโดยอีกสองขุนศึกคือเล่าปี่และซุนกวน ในปี ค.ศ. 216 พระเจ้าเหี้ยนเต้เลื่อนโจโฉขึ้นเป็น "วุยอ๋อง" (魏王 เว่ย์หวาง) และมอบอาณาเขตให้ปกครองมากขึ้น

โจโฉถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 15 มีนาคม ค.ศ. 220 โจผีขึ้นสืบทอดตำแหน่งวุยอ๋อง หลังจากนั้นเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายนในปีเดียวกัน โจผีบังคับพระเจ้าเหี้ยนเต้ให้สละราชสมบัติ โจผีขึ้นครองราชย์แทนและสถาปนาวุยก๊ก (รัฐวุย) ขึ้น เล่าปี่ตอบโต้การอ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์ของโจผีทันทีโดยการสถาปนาตนเป็น "จักรพรรดิแห่งจ๊กก๊ก" ในปีถัดมา ซุนกวนดำรงตำแหน่งอ๋องภายใต้วุยก๊ก แต่ก็ได้ประกาศตนเป็นอิสระในปี ค.ศ. 222 และสถาปนาตนเป็น "จักรพรรดิแห่งง่อก๊ก" ในปี ค.ศ. 229

รัชสมัยพระเจ้าโจผีและพระเจ้าโจยอย

การบุกเลียวตั๋งของสุมาอี้

ศึกโคกูรยอ-วุยก๊ก

การล่มสลายของวุยก๊ก

ราชสำนัก

วัฒนธรรม

ลายสือศิลป์แบบไข่ชูได้รับการพัฒนาในระหว่างช่วงปลายราชวงศ์ฮั่นตะวันออกและราชวงศ์วุยก๊ก ผู้เชี่ยวชาญลายสือศิลป์แบบไข่ชูที่เป็นที่รู้จักคือจงฮิว ขุนนางแห่งวุยก๊ก[2]

รายชื่ออาณาเขต

รายพระนามกษัตริย์

ผู้ปกครองวุยก๊ก
ชื่อวัด พระราชสมัญญานาม แซ่ (ตัวหนา) และชื่อตัว ครองราชย์ (ค.ศ.) ชื่อรัชศกและช่วงเวลา (ค.ศ.) หมายเหตุ
(-) จักรพรรดิเกา
(เกาหฺวังตี้)
高皇帝
โจเท้ง
(เฉา เถิง)
曹騰
(-) (-) พระราชสมัญญานามของโจเท้งได้รับการยกย่องย้อนหลังโดยพระเจ้าโจยอย
(-) จักรพรรดิไท่
(ไท่หฺวังตี้)
太皇帝
โจโก๋
(เฉา ซง)
曹嵩
(-) (-) พระราชสมัญญานามของโจโก๋ได้รับการยกย่องย้อนหลังโดยพระเจ้าโจผี
ไท่จู่
太祖
จักรพรรดิอู่
(อู่หฺวังตี้)
武皇帝
โจโฉ
(เฉา เชา)
曹操
(-) (-) ชื่อวัดและพระราชสมัญญานามของโจโฉได้รับการยกย่องย้อนหลังโดยพระเจ้าโจผี
ชื่อจู่
世祖
จักรพรรดิเหวิน
(เหวินหฺวังตี้)
文皇帝
โจผี
(เฉา ผี)
曹丕
220-226
  • หฺวังชู
    黃初 (220-226)
เลี่ยจู่
烈祖
จักรพรรดิหมิง
(หมิงหฺวังตี้)
明皇帝
โจยอย
(เฉา รุ่ย)
曹叡
227-239
  • ไท่เหอ
    太和 (227-233)
  • ชิงหลง
    青龍 (233-237)
  • จิ่งชู
    景初 (237-239)
(-) (-) โจฮอง
(เฉา ฟาง)
曹芳
240-249
  • เจิ้งฉื่อ
    正始 (240-249)
  • เจียผิง
    嘉平 (249-254)
โจฮองถูกลดขั้นเป็น "เจอ๋อง" (齊王 ฉีหวาง) หลังถูกถอดจากราชสมบัติ โจฮองได้รับการสถาปนาย้อนหลังเป็น "เช่าหลิงลี่กง" (邵陵厲公) ในยุคราชวงศ์จิ้นตะวันตก
(-) (-) โจมอ
(เฉา เหมา)
曹髦
254-260
  • เจิ้งยฺเหวียน
    正元 (254-256)
  • กานลู่
    甘露 (256-260)
โจมอได้รับการสถาปนาย้อนหลังเป็น "เกากุ้ยเซียงกง" (高貴鄉公).
(-) จักรพรรดิยฺเหวียน
(ยฺเหวียนหฺวังตี้)
元皇帝
โจฮวน
(เฉา ฮฺวั่น)
曹奐
260-266
  • จิ่งยฺเหวียน
    景元 (260-264)
  • เสียนซี
    咸熙 (264-266)

พงศาวลีวุยก๊ก

อ้างอิง

  1. ราชวงศ์วุย, อินไซด์สามก๊ก, ณรงค์ชัย ปัญญานนทชัย, สำนักพิมพ์ดอกหญ้า, พ.ศ. 2550, หน้า 58
  2. Qiu Xigui (2000). Chinese Writing. Translated by Mattos and Jerry Norman. Early China Special Monograph Series No. 4. Berkeley: The Society for the Study of Early China and the Institute of East Asian Studies, University of California, Berkeley. ISBN 1-55729-071-7; p.142-3

ดูเพิ่ม