ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หนอง (ฝี)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BeckNoDa (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัด 5: บรรทัด 5:
</ref><ref>
</ref><ref>
{{cite web|url=http://www.medicalnewstoday.com/articles/249182.php|title=Pus – What Is Pus?|website=medicalnewstoday.com|accessdate=2016-08-19}}
{{cite web|url=http://www.medicalnewstoday.com/articles/249182.php|title=Pus – What Is Pus?|website=medicalnewstoday.com|accessdate=2016-08-19}}
</ref> การมักหมมสะสมของหนองในบริเวณเนื้อเยื่อที่โอบล้อมรอบเป็น​นที่รู้จักกันคือ [[ฝี]] ในขณะที่การสะสมอย่างชัดเจนของหนองภายในหรือใต้ผิวหนังชั้นนอกเป็นที่รู้จักกันคือ ตุ่มหนอง [[สิว]] หรือจุด
</ref> การมักหมมสะสมของหนองในบริเวณเนื้อเยื่อที่โอบล้อมรอบเป็นที่รู้จักกันคือ [[ฝี]] ในขณะที่การสะสมอย่างชัดเจนของหนองภายในหรือใต้ผิวหนังชั้นนอกเป็นที่รู้จักกันคือ ตุ่มหนอง [[สิว]] หรือจุด


หนองจะประกอบไปด้วยของเหลวที่เต็มไปด้วยโปรตีนบางๆ เป็นที่รู้จักกันคือ "''liquor puris",''{{citation needed|date=January 2016}} และเม็ดเลือดขาวที่ตายแล้วจากการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันของร่างกาย(ส่วนใหญ่เป็นนิวโตรฟิล(Neutrophil)).<ref name="Barer 2012 pp. 168–173">{{cite book|last=Barer|first=M.R.|title=Medical Microbiology|pages=168–173|chapter=The natural history of infection|publisher=Elsevier|year=2012|isbn=978-0-7020-4089-4|doi=10.1016/b978-0-7020-4089-4.00029-9|chapter-url=https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/B9780702040894000299}}</ref> ในช่วงการติดเชื้อ, แมกโครเฟจ(Macrophage)จะปล่อยไซโตไคน์(Cytokine)ออกมาซึ่งจะกระตุ้นนิวโตรฟิลในการค้นหาบริเวณที่มีการติดเชื้อโดยคลีโมทาซิส(Chemotaxis) สิ่งเหล่านี้, นิวโตรฟิลจะปล่อยเม็ดเล็กๆซึ่งจะทำลายเชื้อแบคทีเรีย เชื้อแบคทีเรียจะทำการต่อต้านการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันโดยปล่อยสารพิษที่เรียกว่า ลูโคซิดน์(Leukocidin)<ref name="Biology2">Madigan, Michael T. and Martin, John M. Brock Biology of Microorganisms 11th ed. Pearson Prentice Hall. US. 2006: 734</ref> เมื่อนิวโตรฟิลได้ตายไปด้วยสารพิษและวัยชรา พวกมันจะถูก[[ฟาโกไซโทซิส|ทำลาย]]โดยแมกโครเฟจ ก่อให้เกิดหนองอันเหนียวหนืด
หนองจะประกอบไปด้วยของเหลวที่เต็มไปด้วยโปรตีนบาง ๆ เป็นที่รู้จักกันคือ "''liquor puris",''{{citation needed|date=มกราคม 2559}} และเม็ดเลือดขาวที่ตายแล้วจากการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ส่วนใหญ่เป็นนิวโทรฟิล)<ref name="Barer 2012 pp. 168–173">{{cite book|last=Barer|first=M.R.|title=Medical Microbiology|pages=168–173|chapter=The natural history of infection|publisher=Elsevier|year=2012|isbn=978-0-7020-4089-4|doi=10.1016/b978-0-7020-4089-4.00029-9|chapter-url=https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/B9780702040894000299}}</ref> ในช่วงการติดเชื้อ, แมกโครเฟจ (Macrophage) จะปล่อยไซโตไคน์ (Cytokine) ออกมา ซึ่งจะกระตุ้นนิวโทรฟิลในการค้นหาบริเวณที่มีการติดเชื้อโดยคีโมทาซิส (Chemotaxis) นิวโทรฟิลจะปล่อยเม็ดเล็ก ๆ ซึ่งจะทำลายเชื้อแบคทีเรีย เชื้อแบคทีเรียจะทำการต่อต้านการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันโดยปล่อยสารพิษที่เรียกว่า ลูโคซิดน์ (Leukocidin)<ref name="Biology">Madigan, Michael T. and Martin, John M. Brock Biology of Microorganisms 11th ed. Pearson Prentice Hall. US. 2006: 734</ref> เมื่อนิวโทรฟิลได้ตายไปด้วยสารพิษและวัยชรา พวกมันจะถูก[[ฟาโกไซโทซิส|ทำลาย]]โดยแมกโครเฟจ ก่อให้เกิดหนองอันเหนียวหนืด


แบคทีเรียที่ทำให้เกิดหนองที่ถูกเรียกว่า ไพโอเจนิส(pyogenic)<ref name="Biology" /><ref>{{DorlandsDict|seven/000088920|pyogenic}}</ref>
แบคทีเรียที่ทำให้เกิดหนองที่ถูกเรียกว่า ไพโอเจนิส (pyogenic)<ref name=Biology/><ref>{{DorlandsDict|seven/000088920|pyogenic}}</ref>


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 21:47, 12 ตุลาคม 2564

ตาเป็นหนองจากอาการเยื่อตาอักเสบ

หนอง (อังกฤษ: Pus) เป็นของเหลวเยิ้มสีขาวเหลือง สีเหลือง หรือสีน้ำตาลเหลือง ซึ่งเกิดขึ้นที่บริเวณที่มีการอักเสบในช่วงระหว่างการติดเชื้อราหรือเชื้อแบคทีเรีย[1][2] การมักหมมสะสมของหนองในบริเวณเนื้อเยื่อที่โอบล้อมรอบเป็นที่รู้จักกันคือ ฝี ในขณะที่การสะสมอย่างชัดเจนของหนองภายในหรือใต้ผิวหนังชั้นนอกเป็นที่รู้จักกันคือ ตุ่มหนอง สิว หรือจุด

หนองจะประกอบไปด้วยของเหลวที่เต็มไปด้วยโปรตีนบาง ๆ เป็นที่รู้จักกันคือ "liquor puris",[ต้องการอ้างอิง] และเม็ดเลือดขาวที่ตายแล้วจากการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ส่วนใหญ่เป็นนิวโทรฟิล)[3] ในช่วงการติดเชื้อ, แมกโครเฟจ (Macrophage) จะปล่อยไซโตไคน์ (Cytokine) ออกมา ซึ่งจะกระตุ้นนิวโทรฟิลในการค้นหาบริเวณที่มีการติดเชื้อโดยคีโมทาซิส (Chemotaxis) นิวโทรฟิลจะปล่อยเม็ดเล็ก ๆ ซึ่งจะทำลายเชื้อแบคทีเรีย เชื้อแบคทีเรียจะทำการต่อต้านการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันโดยปล่อยสารพิษที่เรียกว่า ลูโคซิดน์ (Leukocidin)[4] เมื่อนิวโทรฟิลได้ตายไปด้วยสารพิษและวัยชรา พวกมันจะถูกทำลายโดยแมกโครเฟจ ก่อให้เกิดหนองอันเหนียวหนืด

แบคทีเรียที่ทำให้เกิดหนองที่ถูกเรียกว่า ไพโอเจนิส (pyogenic)[4][5]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Pus". dictionary.reference.com. สืบค้นเมื่อ 2008-08-18.
  2. "Pus – What Is Pus?". medicalnewstoday.com. สืบค้นเมื่อ 2016-08-19.
  3. Barer, M.R. (2012). "The natural history of infection". Medical Microbiology. Elsevier. pp. 168–173. doi:10.1016/b978-0-7020-4089-4.00029-9. ISBN 978-0-7020-4089-4.
  4. 4.0 4.1 Madigan, Michael T. and Martin, John M. Brock Biology of Microorganisms 11th ed. Pearson Prentice Hall. US. 2006: 734
  5. pyogenic ใน พจนานุกรมศัพท์การแพทย์ดอร์แลนด์