ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แบนตัมเวท"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ice 4402 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 2 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8.1
บรรทัด 6: บรรทัด 6:
และ [[ผึ้งหลวง ส.สิงห์อยู่]]
และ [[ผึ้งหลวง ส.สิงห์อยู่]]


และในส่วนของมวยสากลสมัครเล่น มีนักมวยไทย 3 คนที่ได้รับเหรียญรางวัลโอลิมปิก คือ [[ผจญ มูลสัน]] เหรียญทองแดงจาก[[โอลิมปิกฤดูร้อน 1988|โอลิมปิก 1988]] ที่โซล ประเทศเกาหลีใต้<ref>{{cite web|url=http://www.sopon.ac.th/sopon/sema_web/olympic_thailand/3phajon.html|title=ผจญ มูลสัน|date=|accessdate=27 August 2014|publisher=sopon.ac.th}}</ref>, [[วิชัย ราชานนท์]] เหรียญทองแดงจาก[[โอลิมปิกฤดูร้อน 1996|โอลิมปิก 1996]] ที่นครแอตแลนตา รัฐจอร์เจีย สหรัฐอเมริกา และ [[วรพจน์ เพชรขุ้ม]] เหรียญเงินจาก[[โอลิมปิกฤดูร้อน 2004|โอลิมปิก 2004]] ที่กรุงเอเธนส์ ประเทศกรีซ<ref>{{cite web|url=http://www.sopon.ac.th/sopon/sema_web/olympic_thailand/14worapoj.html|title=วรพจน์ เพชรขุ้ม|date=|accessdate=27 August 2014|publisher=sopon.ac.th}}</ref>
และในส่วนของมวยสากลสมัครเล่น มีนักมวยไทย 3 คนที่ได้รับเหรียญรางวัลโอลิมปิก คือ [[ผจญ มูลสัน]] เหรียญทองแดงจาก[[โอลิมปิกฤดูร้อน 1988|โอลิมปิก 1988]] ที่โซล ประเทศเกาหลีใต้<ref>{{cite web|url=http://www.sopon.ac.th/sopon/sema_web/olympic_thailand/3phajon.html|title=ผจญ มูลสัน|date=|accessdate=27 August 2014|publisher=sopon.ac.th|archive-date=2016-10-31|archive-url=https://web.archive.org/web/20161031041941/http://www.sopon.ac.th/sopon/sema_web/olympic_thailand/3phajon.html|url-status=dead}}</ref>, [[วิชัย ราชานนท์]] เหรียญทองแดงจาก[[โอลิมปิกฤดูร้อน 1996|โอลิมปิก 1996]] ที่นครแอตแลนตา รัฐจอร์เจีย สหรัฐอเมริกา และ [[วรพจน์ เพชรขุ้ม]] เหรียญเงินจาก[[โอลิมปิกฤดูร้อน 2004|โอลิมปิก 2004]] ที่กรุงเอเธนส์ ประเทศกรีซ<ref>{{cite web|url=http://www.sopon.ac.th/sopon/sema_web/olympic_thailand/14worapoj.html|title=วรพจน์ เพชรขุ้ม|date=|accessdate=27 August 2014|publisher=sopon.ac.th|archive-date=2016-03-06|archive-url=https://web.archive.org/web/20160306112209/http://www.sopon.ac.th/sopon/sema_web/olympic_thailand/14worapoj.html|url-status=dead}}</ref>


สำหรับนักมวยต่างชาติที่มีชื่อเสียงที่ชกในพิกัดนี้ นอกจาก ออร์แลนโด แคนิซาเลส แล้ว ได้แก่ [[จิมมี่ คาร์รัทเธอร์]], [[รอแบร์ กอแอน]], [[ไฟติง ฮาราดะ]], [[Éder Jofre|เอเดร์ ฌูเฟร์]], [[หลุยส์ ซีโต้ เอสปิโนซา]], [[อิสราเอล กอนเตรรัส]], [[โจอิจิโร ทัตสึโยชิ]], [[มุน ซ็อง-กิล]], [[นานา คอนาดู]], [[Paulie ayala|พอลลี อยาลา]], [[โฮซูมิ ฮาเซงาวะ]], [[เฟร์นันโด มอนติเอล]], [[โคกิ คาเมดะ]] เป็นต้น<ref>Mullan, Harry (1996). ''The Ultimate Encyclopedia of Boxing''. London, England: Carlton Books. pp. 178. ISBN 0785806415. </ref>
สำหรับนักมวยต่างชาติที่มีชื่อเสียงที่ชกในพิกัดนี้ นอกจาก ออร์แลนโด แคนิซาเลส แล้ว ได้แก่ [[จิมมี่ คาร์รัทเธอร์]], [[รอแบร์ กอแอน]], [[ไฟติง ฮาราดะ]], [[Éder Jofre|เอเดร์ ฌูเฟร์]], [[หลุยส์ ซีโต้ เอสปิโนซา]], [[อิสราเอล กอนเตรรัส]], [[โจอิจิโร ทัตสึโยชิ]], [[มุน ซ็อง-กิล]], [[นานา คอนาดู]], [[Paulie ayala|พอลลี อยาลา]], [[โฮซูมิ ฮาเซงาวะ]], [[เฟร์นันโด มอนติเอล]], [[โคกิ คาเมดะ]] เป็นต้น<ref>Mullan, Harry (1996). ''The Ultimate Encyclopedia of Boxing''. London, England: Carlton Books. pp. 178. ISBN 0785806415. </ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:41, 10 ตุลาคม 2564

แบนตัมเวท (อังกฤษ: Bantamweight) ชื่อเรียกรุ่นมวยรุ่นเล็กที่เคยเป็นรุ่นเล็กเป็นอันดับ 2 ของโลกมาก่อน โดยนักมวยที่จะชกในรุ่นนี้ต้องมีน้ำหนักตัวมากกว่า 115 ปอนด์ (52.163 กิโลกรัม) และไม่เกิน 118 ปอนด์ (53.524 กิโลกรัม) โดยทุกสถาบันจะเรียกชื่อนี้เหมือนกันหมด แชมป์โลกที่ทำสถิติป้องกันตำแหน่งไว้ได้มากที่สุดของรุ่นนี้คือ ออร์แลนโด แคนิซาเลส นักมวยชาวอเมริกัน โดยทำสถิติป้องกันตำแหน่งไว้ได้ทั้งหมด 15 ครั้ง

สำหรับนักมวยไทยแล้ว รุ่นแบนตัมเวทนี้ได้ชื่อว่าเป็นรุ่นอาถรรพ์ เพราะเคยมีนักมวยไทยหลายรายที่ขึ้นชิงตำแหน่งแชมป์รุ่นนี้แล้วไม่ประสบความสำเร็จ ถึงได้เป็นแชมป์ไปก็ป้องกันตำแหน่งไว้ได้ไม่นาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับแชมป์ของสมาคมมวยโลก (WBA) เช่น จำเริญ ทรงกิตรัตน์ ที่เคยชิงแชมป์โลกในรุ่นนี้ถึง 3 ครั้ง แต่ก็ไม่ประสบความสำเร็จ [1]

นักมวยไทยที่เคยเป็นแชมป์โลกในรุ่นนี้มีทั้งหมด 7 ราย ได้แก่ เขาค้อ แกแล็คซี่, ดาวรุ่ง ชูวัฒนะ, ศิริมงคล สิงห์มนัสศักดิ์, วีระพล นครหลวงโปรโมชั่น, รัตนชัย ส.วรพิน, พูนสวัสดิ์ กระทิงแดงยิม (เป็นเพียงแชมป์เฉพาะกาล) และ ผึ้งหลวง ส.สิงห์อยู่

และในส่วนของมวยสากลสมัครเล่น มีนักมวยไทย 3 คนที่ได้รับเหรียญรางวัลโอลิมปิก คือ ผจญ มูลสัน เหรียญทองแดงจากโอลิมปิก 1988 ที่โซล ประเทศเกาหลีใต้[2], วิชัย ราชานนท์ เหรียญทองแดงจากโอลิมปิก 1996 ที่นครแอตแลนตา รัฐจอร์เจีย สหรัฐอเมริกา และ วรพจน์ เพชรขุ้ม เหรียญเงินจากโอลิมปิก 2004 ที่กรุงเอเธนส์ ประเทศกรีซ[3]

สำหรับนักมวยต่างชาติที่มีชื่อเสียงที่ชกในพิกัดนี้ นอกจาก ออร์แลนโด แคนิซาเลส แล้ว ได้แก่ จิมมี่ คาร์รัทเธอร์, รอแบร์ กอแอน, ไฟติง ฮาราดะ, เอเดร์ ฌูเฟร์, หลุยส์ ซีโต้ เอสปิโนซา, อิสราเอล กอนเตรรัส, โจอิจิโร ทัตสึโยชิ, มุน ซ็อง-กิล, นานา คอนาดู, พอลลี อยาลา, โฮซูมิ ฮาเซงาวะ, เฟร์นันโด มอนติเอล, โคกิ คาเมดะ เป็นต้น[4]

อ้างอิง

  1. นิตยสารคนเด็ดฉบับพิเศษ 22 แชมป์โลกชาวไทย โดย สำนักพิมพ์ดวงตา (กรุงเทพ, พ.ศ. 2538)
  2. "ผจญ มูลสัน". sopon.ac.th. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-10-31. สืบค้นเมื่อ 27 August 2014.
  3. "วรพจน์ เพชรขุ้ม". sopon.ac.th. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-06. สืบค้นเมื่อ 27 August 2014.
  4. Mullan, Harry (1996). The Ultimate Encyclopedia of Boxing. London, England: Carlton Books. pp. 178. ISBN 0785806415.